National Academies Press: OpenBook

Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version (2011)

Chapter: 3 (Environment, Housing, and Management)

« Previous: 2 Animal Care and Use Program
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 41
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 42
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 43
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 44
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 45
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 46
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 47
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 48
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 49
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 50
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 51
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 52
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 53
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 54
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 55
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 56
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 57
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 58
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 59
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 60
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 61
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 62
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 63
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 64
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 65
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 66
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 67
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 68
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 69
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 70
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 71
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 72
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 73
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 74
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 75
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 76
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 77
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 78
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 79
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 80
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 81
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 82
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 83
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 84
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 85
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 86
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 87
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 88
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 89
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 90
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 91
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 92
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 93
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 94
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 95
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 96
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 97
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 98
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 99
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 100
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 101
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 102
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 103
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 104
Suggested Citation:"3 (Environment, Housing, and Management)." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 105

Below is the uncorrected machine-read text of this chapter, intended to provide our own search engines and external engines with highly rich, chapter-representative searchable text of each book. Because it is UNCORRECTED material, please consider the following text as a useful but insufficient proxy for the authoritative book pages.

3 สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ (Environment, Housing, and Management) ใ นบทนี้จัดเตรียมแนวทางต่างๆสำ�หรับสภาพแวดล้อม ที่อยู่และการจัดการสัตว์ทดลองที่ถูกใช้ หรือผลิตเพื่อการวิจัย การทดสอบและการสอน แนวทางเหล่านี้นำ�ไปใช้ได้กับสัตว์หลายชนิด และค่อนข้างเป็นเรื่องทั่วๆไป ควรหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการนำ�แนวทางไปปฏิบัติได้อย่างไร เพื่อสอดคล้องกับความจำ�เป็นโดยเฉพาะของสัตว์แต่ละชนิด สายพันธุ์ หรือการใช้ (ดูภาคผนวก ก. สำ�หรับ เอกสารอ้างอิง) บทนี้จัดแบ่งออกเป็นข้อแนะนำ�สำ�หรับสัตว์บก (หน้า 42) และสัตว์น้ำ� (หน้า 77) ตามที่มี ความแตกต่างมูลฐานในสิ่งจำ�เป็นด้านสภาพแวดล้อม ตลอดจนการสัตวบาล ที่อยู่และการดูแล ถึงแม้ว่า ได้กำ�หนดไว้โดยเฉพาะสำ�หรับสัตว์มีกระดูกสันหลัง หลักเกณฑ์การดูแลอย่างมีมนุษยธรรมโดยทั่วไปดังที่ ตั้งไว้ในข้อแนะนำ�อาจนำ�ไปปฏิบัติกับสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังได้ด้วย การออกแบบสถานที่ร่วมกับที่อยู่และการจัดการสัตว์ทดลองอย่างเหมาะสมเป็นสิ่งจำ�เป็นต่อความ เป็นอยู่ที่ดีของสัตว์ คุณภาพของการวิจัยและการผลิตสัตว์ การสอนหรือโครงการทดสอบที่เกี่ยวข้องกับ สัตว์และสุขภาพและความปลอดภัยของบุคลากร โปรแกรมทีเหมาะสม (ดูบทที่ 2) ให้สภาพแวดล้อม ทีอยูและ ่ ่ ่ การจัดการทีเหมาะสมดีส�หรับชนิดและสายพันธุสตว์ทมอยูและคำ�นึงถึงความต้องการทางกายภาพ ร่างกาย ่ ำ ์ ั ี่ ี ่ และพฤติกรรมของสัตว์ เพื่อให้สัตว์เติบโต เจริญพันธุ์ สืบพันธุ์ตามปกติ และ เอื้อต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ ที่ดีในขณะเดียวกัน 41

42 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง ปลา สัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบก และ สัตว์เลื้อยคลานเป็นสัตว์เลือดเย็น อุณหภูมิที่แกนกลางร่างกาย ผันแปรตามภาวะแวดล้อมต่างๆและมีความสามารถในการรักษาอุณหภูมิแกนกลางโดยกระบวนการสันดาป อย่างจำ�กัด (เมือเปรียบเทียบกับนกและสัตว์เลือดอุนต่างๆ) สัตว์เลือดเย็นทีเป็นสัตว์ทดลองโดยส่วนใหญ่เป็น ่ ่ ่ สัตว์น� ตัวอย่างเช่น ปลาและสัตว์สะเทินน้�สะเทินบกโดยส่วนใหญ่ ถึงแม้วาสัตว์บางชนิดเช่น สัตว์เลือยคลาน ้ำ ำ ่ ้ และสัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบกบางชนิดเป็นสัตว์บก บุคลากรผู้ทำ�งานกับสัตว์น�ควรคุ้นเคยกับการจัดการที่ ้ำ เกียวข้องได้แก่ ความสำ�คัญของการให้ชวงอุณหภูมตางๆทีเหมาะสมสำ�หรับการทำ�หน้าทีพนฐานของร่างกาย ่ ่ ิ ่ ่ ่ ื้ สัตว์บก สภาพแวดล้อมสำ�หรับสัตว์บก สภาพแวดล้อมจุลภาคและสภาพแวดล้อมมหภาค สภาพแวดล้อมจุลภาคของสัตว์บก คือ สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ล้อมรอบสัตว์อย่างใกล้ชิด เป็น สิ่งล้อมรอบอันดับแรก (primary enclosure) ได้แก่ กรงสัตว์ ซองหรือคอก เป็นที่อยู่ของแหล่งวัสดุที่สัตว์สัมผัส โดยตรงและจำ�กัดขอบเขตของสภาพแวดล้อมรอบตัวสัตว์โดยตรง สภาพแวดล้อมจุลภาคถูกกำ�หนดคุณสมบัติ โดยปัจจัยหลายอย่างเช่น ความสว่าง เสียง การสั่น อุณหภูมิ ความชื้น และส่วนประกอบก๊าซและอนุภาค ต่างๆในอากาศ สภาพแวดล้อมทางกายภาพของสิ่งล้อม รอบอันดับสอง ได้แก่ ห้อง โรงเรือน หรือ สภาพแวดล้อม กลางแจ้งที่รวมกันเป็นสภาพแวดล้อมมหภาค ถึงแม้วาโดยทัวไปสภาพแวดล้อมจุลภาคและสภาพ ่ ่ แวดล้อมมหภาคมีความต่อเนืองถึงกัน สิงล้อมรอบอันดับ ่ ่ แรกสามารถมีความแตกต่างอย่างมากและถูกกระทบด้วย ปัจจัยหลายอย่าง ได้แก่ การออกแบบสิ่งล้อมรอบอันดับแรกและสภาวะต่างๆของสภาพแวดล้อมมหภาค การประเมินสภาพแวดล้อมจุลภาคของสิงล้อมรอบอันดับแรกทีมขนาดเล็กอาจทำ�ได้ยาก ข้อมูลทีมอยู่ ่ ่ ี ่ ี ปัจจุบนบ่งชีวาอุณหภูมิ ความชืนและความเข้มข้นของก๊าซและอนุภาคในสภาพแวดล้อมจุลภาคมักมีคาสูงกว่า ั ้่ ้ ่ ในสภาพแวดล้อมมหภาค (Besch 1980; Hasenua et al. 1993; Perkins and Lipman 1995; E. Smith et al. 2004) ในขณะทีระดับแสงมักมีคาต่�กว่า สภาวะต่างๆของ ่ ่ ำ สภาพแวดล้อมจุลภาคสามารถเหนียวนำ�ความเปลียนแปลง ่ ่ ของกระบวนการทางสรีระ หรืออาจเปลี่ยนแปลงความไว ต่อการเป็นโรค (Baer et al. 1997; Brodeson et al. 1976; Memarzadeh et al. 2004; Schoeb et al. 1982; Vesell et al. 1976)

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 43 อุณหภูมิและความชื้น การรักษาอุณหภูมิร่างกายให้อยู่ภายในค่าแตกต่างภายในวงจรเวลาแต่ละวันตามปกติเป็นสิ่งจำ�เป็น สำ�หรับความเป็นอยูทดของสัตว์ ควรให้สตว์อยูภายในช่วงอุณหภูมความชืนต่างๆทีเหมาะสมกับชนิดของสัตว์ ่ ี่ ี ั ่ ิ ้ ่ ซึ่งสัตว์สามารถปรับตัวด้วยความเครียดและมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีระเพียงเล็กน้อย ช่วงอุณหภูมิที่อยู่ล้อมรอบที่การควบคุมอุณหภูมิเกิดขึ้นได้โดยไม่ต้องเพิ่มการสร้างความร้อนด้วยการ สันดาปหรือกระตุนกลไกการสูญเสียความร้อนด้วยการระเหยเป็นไอ เรียกว่า thermoneutral zone (TNZ) และ ้ จำ�กัดขอบเขตด้วยอุณหภูมิวิกฤตขั้นต่ำ�และขั้นสูง (LCTs และ UCTs; Gordon 2005) เพื่อรักษาอุณหภูมิ ร่างกายภายใต้ภาวะแวดล้อมอุณหภูมิที่ให้ สัตว์ปรับตัวทางสรีระ (รวมทั้งการสันดาป) และทางพฤติกรรม (รวมทังระดับการเคลือนไหวและการใช้วธการ) ดังตัวอย่างเช่น TNZ ของหนูเมาส์มชวงระหว่าง 26°ซ ถึง 30°ซ ้ ่ ิี ี่ (Gordon 1993) ขณะที่ มี อุ ณ หภู มิ ล ดต่ำ � ลง การสร้ า งรั ง และการสุ ม ตั ว เข้ า ด้ ว ยกั น เพื่ อ พั ก ผ่ อ นและ นอนหลับทำ�ให้สตว์ควบคุมอุณหภูมโดยพฤติกรรมเป็นการควบคุมสภาพแวดล้อมขนาดเล็ก ถึงแม้วาหนูเมาส์ ั ิ ่ เลือกอุณหภูมทต่ำ�กว่า LCT เพือการดำ�รงชีวตและพฤติกรรมการพักผ่อน (Gaskill et al. 2009; Gordon 2004; ิ ี่ ่ ิ Gordon et al. 1998) ค่า LCT เช่นเดียวกันนี้ของสัตว์ชนิดอื่น ค้นหาได้ในสิ่งตีพิมพ์ มีค่าผันแปรระหว่าง 26°ซ ถึง 30°ซ สำ�หรับหนูแรท และ 28°ซ ถึง 32°ซ สำ�หรับเจอร์บิล (Gordon 1993) ค่า LCT ของกระต่าย (15°ซ ถึง 20°ซ) และ ของสุนัขและแมว (20°ซ ถึง 25°ซ) มีค่าต่�กว่าเล็กน้อย ขณะที่ค่าของสัตว์จำ�พวกลิง ำ และปศุสัตว์ผันแปรตามชนิดสัตว์ โดยทั่วๆไปแล้วอุณหภูมิห้องสัตว์ที่วัดได้จากเทอร์โมมิเตอร์ชนิดกระเปาะ แห้ง (dry-bulb) ควรมีค่าต่ำ�กว่า LCT ของสัตว์ชนิดนั้นเพื่อหลีกเลี่ยงความเครียดจากความร้อน ดังนั้น สิ่งที่ตามมามีความหมายว่า สัตว์ควรได้รับวัสดุต่างๆอย่างพอเพียงสำ�หรับการควบคุมอุณหภูมิ (วัสดุสำ�หรับ ทำ�รัง ที่หลบภัย) เพื่อหลีกเลี่ยงความเครียดจากความเย็น การให้มีวัสดุอย่างพอเพียงสำ�หรับการควบคุม อุณหภูมเป็นสิงสำ�คัญโดยเฉพาะควรพิจารณาสำ�หรับลูกสัตว์เกิดใหม่ซงมีคาสูงกว่าสัตว์โตเต็มวัยชนิดเดียวกัน ิ ่ ึ่ ่ อุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ของสภาพแวดล้อมขึ้นกับการสัตวบาลและการออกแบบโรงเรือน และ แตกต่างอย่างมากระหว่างสิงล้อมรอบอันดับแรกและอันดับสองตลอดจนสิงล้อมรอบอันดับแรก ปัจจัยต่างๆ ่ ่ ทีมสวนเกียวข้องกับการผันแปรของอุณหภูมและความชืนระหว่างและภายในสิงล้อมรอบ ได้แก่ การออกแบบ ่ ี ่ ่ ิ ้ ่ โรงเรือน วัสดุการก่อสร้าง อุปกรณ์สิ่งเพิ่มพูนต่างๆ เช่น ที่กำ�บัง และ วัสดุสำ�หรับทำ�รัง การใช้ฝากรงที่มี แผ่นกรอง จำ�นวน อายุ ชนิดและขนาดของสัตว์ในสิ่งล้อมรอบอันดับแรกแต่ละอย่าง การบังคับการระบาย อากาศในบรรยากาศล้อมรอบ ชนิดและความถี่ของการเปลี่ยนวัสดุรองนอน (Besch 1980) การคุกคามโดยที่อุณหภูมิและความชื้นมีการแกว่งขึ้นลงในช่วงกว้างหรือเปลี่ยนแปลงอย่างวิกฤตอาจ ส่งผลทำ�ให้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม สรีระและร่างกายภายนอก ซึ่งอาจมีผลเสียต่อความเป็นอยู่ที่ดีของ สัตว์และคุณค่าของงานวิจัย ตลอดจนผลลัพธ์ต่างๆของโปรโตคอลวิจัย (Garrard et al. 1974; Gordon 1990, 1993; Pennycuik 1967) ผลกระทบเหล่านี้อาจสืบทอดต่อไปยังสัตว์รุ่นต่อๆไป (Barnett 1965, 1973)

44 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง ตาราง 3.1 แนะนำ�ช่วงอุณหภูมทวๆไปทีวดได้จากเทอร์โมมิเตอร์ชนิดกระเปาะแห้งและแสดงขีดจำ�กัด ิ ั่ ่ั สำ�หรับสัตว์ทดลองโตเต็มวัยหลายชนิดที่มีใช้อยู่ทั่วไป โดยมีวัสดุอย่างพอเพียงสำ�หรับให้สัตว์ซึ่งอาศัยอยู่ มีการควบคุมอุณหภูมิด้วยพฤติกรรม ควรเลือกช่วงอุณหภูมิตามปกติและรักษาให้การแปรเปลี่ยนขึ้นลงมี น้อยที่สุดใกล้จุดกึ่งกลางของช่วงอุณหภูมิเหล่านี้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับระบบการที่สัตว์อาศัยอยู่ การเลือกอุณหภูมิ สภาพแวดล้อมจุลภาคและมหภาคจะแตกต่างกันบนพื้นฐานปัจจัยหลายอย่างโดยไม่จำ�กัด ได้แก่ ชนิดของ สัตว์หรือสายพันธุ์ อายุ จำ�นวนสัตว์ภายในสิงล้อมรอบและสภาวะทางสัตวบาล (เช่น การใช้/การให้สมผัสวัสดุ ่ ั รองนอน วัสดุสำ�หรับทำ�รัง และ/หรือที่กำ�บัง กรงที่มีการระบายอากาศเฉพาะแต่ละกรง) สัตว์เลือดเย็นหรือ ลูกนกบางชนิดมักต้องการเครื่องให้ความร้อนอยู่ภายในสิ่งล้อมรอบอันดับแรกเพื่อบรรลุกระบวนการขั้น พื้นฐานทางสรีรวิทยา ช่วงอุณหภูมิที่ได้แสดงไว้ไม่อาจใช้กับสัตว์ป่าที่ถูกจับมา สัตว์ป่าที่ถูกเลี้ยงไว้ในสภาพ แวดล้อมตามธรรมชาติของมัน หรือสัตว์ในสิ่งล้อมรอบกลางแจ้งซึ่งได้มีโอกาสปรับตัวโดยให้ประสบกับ การเปลี่ยนฤดูกาลอยู่ในสภาวะต่างๆที่อยู่ล้อมรอบ บางสภาวะต้องมีอุณหภูมิสภาพแวดล้อมเพิ่มสูงขึ้นเพื่อให้สัตว์อยู่ (เช่น การฟื้นหลังการผ่าตัด ลูกสัตว์ เกิดใหม่ สัตว์ฟันแทะที่ไม่มีขน สัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบกเฉพาะบางช่วงของการสืบพันธุ์) ขีดของการเพิ่มอุณหภูมิขึ้นอยู่กับรายละเอียดของที่อยู่ บางครั้งให้เพิ่มอุณหภูมิสภาพแวดล้อมจุลภาคอย่าง เดียวเป็นสิ่งพอเพียงและชอบมากกว่า (เช่น โดยการใช้แผ่นความร้อนสำ�หรับการฟื้นจากการสลบ หรือการ ให้เครื่องปล่อยความร้อนสำ�หรับสัตว์เลื้อยคลาน) ดีกว่าการเพิ่มอุณหภูมิของสภาพแวดล้อมมหภาค ความชื้นสัมพัทธ์ควรถูกควบคุมแต่ไม่ต้องจำ�กัดช่วงให้แคบเหมือนกับอุณหภูมิสำ�หรับสัตว์เลี้ยงลูก ด้วยนมหลายชนิด ช่วงระยะความชื้นสัมพัทธ์ที่ยอมรับได้ส�หรับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมส่วนใหญ่คือ 30−70 % ำ ความชื้นสัมพัทธ์ของสภาพแวดล้อมจุลภาค อาจมีความสำ�คัญมากกว่าสำ�หรับสัตว์ที่เลี้ยงอยู่ในสิ่งล้อมรอบ อันดับแรก ซึ่งมีสภาพแวดล้อมแตกต่างจากสภาพแวดล้อมมหภาคเป็นอย่างมาก (เช่น กรงมีฝากรองอากาศ ครอบอยู่กับที่ ( Isolators)) ตาราง 3.1 ่าอุณหภูมิ Dry-Bulb ของสภาพแวดล้อมมหภาคที่แนะนำ�สำ�หรับสัตว์ทดลองชนิดที่ใช้บ่อย ค อุณหภูมิที่วัดได้จากเทอร์โมมิเตอร์ชนิดกระเปาะแห้ง สัตว์ ซ ฟ หนูเมาซ์ หนูแรท แฮมสเตอร์ เจอร์บิล หนูตะเภาa 20−26 68−79 กระต่าย 16−22 61−72 แมว สุนัข ลิง 18−29 64−84 ปศุสัตว์ และไก่ 16−27 61−81 a การตั้งค่าอุณหภูมิที่วัดได้จากเทอร์โมมิเตอร์ชนิดกระเปาะแห้ง สำ�หรับสัตว์ฟันแทะมักตั้งให้ต่ำ�กว่า LCT ของสัตว์เพื่อหลีก เลี่ยงความเครียดจากความร้อน และควรตอบสนองค่า LCT เฉพาะของสัตว์แต่ละชนิดแตกต่างกัน สัตว์ควรได้รับวัสดุต่างๆ อย่างพอเพียงสัตว์สำ�หรับการควบคุมอุณหภูมิ (วัสดุสำ�หรับทำ�รัง ที่หลบภัย) เพื่อหลีกเลี่ยงความเครียดจากความเย็นสภาพ แวดล้อมแตกต่างจากสภาพแวดล้อมมหภาคเป็นอย่างมาก (เช่น กรงมีฝากรองอากาศครอบอยู่กับที่ [isolators])

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 45 สัตว์บางชนิดอาจต้องการสภาวะที่มีค่าความชื้นสัมพัทธ์สูง (เช่น ลิงบางชนิด สัตว์เลื้อยคลานที่มาจาก เขตร้อน และสัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบก; Olson and Palotay 1983) สำ�หรับหนูเมาส์ ความชื้นสัมพัทธ์ ที่ผิดปกติทั้งสูงและต่ำ�เกินไปอาจเพิ่มการตายของสัตว์ในช่วงก่อนหย่านม (Clough 1982) สำ�หรับหนูแรท ความชื้นสัมพัทธ์ต่ำ�เกินไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อร่วมกับอุณหภูมิสูงสุดขีดอาจทำ�ให้เกิดวิการมีรอยคอด ที่หาง (ringtail) ซึ่งเป็นสภาพเกี่ยวข้องกับเนื้อตายที่หางจากการขาดเลือดและบางครั้งเกิดที่นิ้วตีน (Crippa et al. 2000; Njaa et al. 1957; Totten 1958) สำ�หรับสัตว์บางชนิด ความชื้นสัมพัทธ์ที่มีค่าสูงขึ้นอาจมี ผลกระทบต่อความสามารถของสัตว์ในการต่อสู้ภาวะอุณหภูมิสุดขีด การเพิ่มความชื้นสัมพัทธ์สูงขึ้นของ สภาพแวดล้อมจุลภาคสำ�หรับในกรงแบบ isolators ของสัตว์ฟันแทะ ยังนำ�ไปสู่ความเข้มข้นของแอมโมเนีย ในกรงเพิ่มขึ้น (Corning and Lipman 1991; Hasenau et al. 1993) ซึ่งสามารถทำ�ให้ทางเดินหายใจระคาย เคืองและการตอบสนองทางชีววิทยาเปลี่ยนแปลงไป (Gordon et al. 1980; Manninen et al. 1998) ในสภาพอากาศตามฤดูกาลต่างๆทีการให้ความชืนสัมพัทธ์ของสภาพแวดล้อมในระดับทีเหมาะสมทำ�ได้ล�บาก ่ ้ ่ ำ ควรดูแลสัตว์อย่างใกล้ชิดเพื่อสังเกตผลกระทบด้านลบต่างๆ ได้แก่ ผิวหนังมีรังแคอย่างมาก ความผิดปกติ ในการลอกคราบของสัตว์เลื้อยคลาน และความเครียดจากความแห้งแล้งที่พบในสัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบก ที่ดำ�รงชีวิตแบบครึ่งน้�ำ การระบายอากาศและคุณภาพของอากาศ จุดประสงค์ของการระบายอากาศ คือ เพื่อให้คุณภาพอากาศมีความเหมาะสมและมีสภาพแวดล้อม คงที่ โดยเฉพาะอย่างยิงการระบายอากาศให้กาซออกซิเจนอย่างพอเพียง ขจัดปริมาณความร้อนต่างๆ ทีเกิด ่ ๊ ่ ขึ้นจากสัตว์ บุคลากร หลอดไฟแสงสว่างและอุปกรณ์ เจือจางก๊าซและฝุ่นละอองซึ่งปนเปื้อน เช่น สาร ก่อภูมิแพ้ และ เชื้อที่ทำ�ให้เกิดโรคที่มีอยู่ในอากาศ ปรับความชื้นและอุณหภูมิของอากาศในห้อง และเมื่อ มีความเหมาะสม การสร้างความแตกต่างของความดันสถิตย์ (การไหลของลมอย่างมีทิศทาง) ระหว่างพื้นที่ ส่วนติดต่อกัน เป็นความสำ�คัญอย่างยิ่งที่การระบายอากาศในห้อง (เช่น สภาพแวดล้อมมหภาค) ไม่อาจ รับประกันว่ามีการระบายอากาศอย่างเพียงพอในสิ่งล้อมรอบอันดับแรก (เช่น สภาพแวดล้อมจุลภาค) ซึ่ง เป็นอากาศที่สัตว์สัมผัสอย่างแท้จริง รูปแบบของสิ่งล้อมรอบอันดับแรกอาจถือได้ว่ามีอิทธิพลต่อความ แตกต่างระหว่างสภาพแวดล้อมทั้งสอง ตัวอย่างเช่น ความแตกต่างอาจถูกละเลยเมื่อสัตว์อาศัยอยู่ในกรง หรือซองเปิด ในขณะที่มีความสำ�คัญมากเมื่อใช้กรง isolators ที่มีฝากรองอากาศครอบอยู่กับที่ ปริมาตรและคุณสมบัตทางกายภาพต่างๆของอากาศทีจายสูหองและรูปแบบการกระจายลมมีอทธิพล ิ ่่ ่ ้ ิ ต่อการระบายอากาศของสิงล้อมรอบอันดับแรกของสัตว์และเป็นตัวกำ�หนดทีส�คัญของสภาพแวดล้อมจุลภาค ่ ่ำ ของสัตว์ รูปแบบและที่ตั้งของหัวจ่ายลมและช่องระบายอากาศสัมพันธ์กับจำ�นวน การจัดเรียง ตำ�แหน่งและ ชนิดของสิงล้อมรอบอันดับแรกและอันดับสองมีผลกระทบต่อการระบายลมในสิงล้อมรอบอันดับแรกว่าดีมาก ่ ่ น้อยอย่างไร ดังนั้นจึงควรพิจารณาโดยการใช้แบบจำ�ลองคอมพิวเตอร์เพื่อประเมินปัจจัยเหล่านี้โดยสัมพันธ์ กับปริมาณความร้อน รูปแบบการกระจายลมและการเคลื่อนที่ของอนุภาคอาจช่วยเหลือการระบายอากาศ ในสิ่งล้อมรอบอันดับแรกและอันดับสองอย่างเหมาะสมที่สุด (Hughes and Reynolds 1995)

46 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง ควรหลีกเลี่ยงการให้สัตว์สัมผัสลมแรงเป่าใส่ตัวโดยตรง (drafts) เพราะว่าความเร็วลมที่สัตว์สัมผัสมี ผลกระทบต่ออัตราทีความร้อนและความชืนถูกกำ�จัดออกจากตัวสัตว์ ตัวอย่างเช่น อากาศทีมี 20°ซ เคลือนที่ ่ ้ ่ ่ เป็นเส้นตรง ด้วยความเร็ว 60 ฟุตต่อนาที (18.3 เมตรต่อนาที) มีผลต่อความเย็นประมาณ 7°ซ (Weihe 1971) drafts สามารถก่อปัญหาโดยเฉพาะความสามารถของลูกสัตว์ในการรักษาอุณหภูมิร่างกายให้คงที่ (ซึ่งอาจ ไม่มีขนและมีกลไกซึ่งยังพัฒนาไม่ครบในการรักษาอุณหภูมิร่างกายให้คงที่) สัตว์กลายพันธุ์ที่ไม่มีขน และ สัตว์สะเทินน้�สะเทินบกที่ดำ�รงชีวิตแบบครึ่งน้ำ�ที่สามารถอยู่ที่แห้งได้ ำ การให้การแลกเปลี่ยนอากาศในห้องเลี้ยงสัตว์ที่ 10−15 ครั้งต่อชั่วโมงเป็นข้อแนะนำ�ที่ยอมรับได้ เพือรักษาคุณภาพอากาศของสภาพแวดล้อมมหภาคด้วยระบบทีมปริมาตรคงที่ และอาจรองรับคุณภาพอากาศ ่ ่ ี ของสภาพแวดล้อมจุลภาคได้ด้วย ถึงแม้ว่าช่วงระยะนี้ใช้ได้ผลในการจัดที่อยู่สัตว์หลายๆแบบ ค่านี้ไม่ได้ นับรวมช่วงความแตกต่างปริมาณความร้อนที่อาจเป็นไปได้ ชนิด ขนาดและจำ�นวนสัตว์ที่เกี่ยวข้อง รูปแบบ ของสิ่งล้อมรอบอันดับแรกและชนิดของวัสดุรองนอน ความถี่ของการเปลี่ยนกรง ขนาดของห้อง หรือ ประสิทธิภาพของการกระจายอากาศทั้งในสภาพแวดล้อมมหภาค และระหว่างสภาพแวดล้อมมหภาคและ จุลภาค ในบางสถานการณ์ การใช้ชวงดังทีได้แนะนำ�ไว้อย่างครอบคลุมอาจระบายอากาศมากเกินไปในสภาพ ่ ่ แวดล้อมมหภาคทีมสตว์จ�นวนน้อย จึงสูญเสียพลังงานหรือระบายอากาศน้อยเกินไปในสภาพแวดล้อมจุลภาค ่ ีั ำ ที่มีสัตว์จ�นวนมาก เกิดการสะสมความร้อน ความชื้นและสารพิษ ำ ระบบความร้อน การระบายอากาศและปรับอากาศ (HVAC ที่ทันสมัย (เช่น ระบบที่ปริมาตรอากาศ ผันแปรได้ หรือ ระบบ VAV) ยอมให้ตั้งอัตราการระบายอากาศที่สอดคล้องกับปริมาณความร้อนและตัวแป รอื่นๆ ระบบนี้ให้ข้อได้เปรียบที่ควรคำ�นึงหลายอย่างโดยเอาใจใส่ต่อความยืดหยุ่นและการประหยัดพลังงาน แต่ควรให้การแลกเปลี่ยนอากาศอยู่ในขั้นต่ำ�ที่สุดเสมอตามที่ได้แนะนำ�ไว้ในการใช้ห้องปฏิบัติการโดยทั่วไป (Bell 2008; DiBeradinis et al. 2009) กรงทีมการระบายอากาศเฉพาะแต่ละกรง (IVCs) และสิงล้อมรอบอันดับแรกชนิดพิเศษในรูปแบบอืนๆ ่ ี ่ ่ ซึ่งระบายอากาศในสิ่งล้อมรอบโดยตรงด้วยการใช้อากาศจากในห้องที่ผ่านการกรองแล้ว หรือมีการแยก ต่างหากไม่เกี่ยวกับระบบห้องอย่างใดอย่างหนึ่ง สามารถสนองการระบายอากาศที่สัตว์ต้องได้รับอย่าง มีประสิทธิภาพ โดยไม่ต้องเพิ่มการระบายอากาศในสภาพแวดล้อมมหภาค อย่างไรก็ดี ควรพิจารณาข้อควร ระวังที่ได้กล่าวถึงในข้างต้นเกี่ยวกับลมที่มีความเร็วสูง (baumans et al . 2002; Krohn et al. 2003) ถึงแม้ว่า จะเป็นเช่นนันก็ตาม สภาพแวดล้อมมหภาคควรได้รบการระบายอากาศอย่างพอเพียงเพือตอบสนองปริมาณ ้ ั ่ ความร้อน อนุภาค กลิ่น และก๊าซของเสียต่างๆในสิ่งล้อมรอบอันดับแรก (Lipman 1993) ถ้าสิ่งล้อมรอบอันดับแรกมีการกรองอากาศอย่างเพียงพอเพื่อสนองตอบความเสี่ยงต่อการปนเปื้อน ต่างๆ อากาศทีระบายออกจากกรงอาจถูกส่งกลับไปสู่หองซึ่งสัตว์อาศัยอยู่ ถึงแม้ว่าโดยทั่วไปนิยมการปล่อย ่ ้ อากาศทิงโดยตรงไปยังระบบการปล่อยอากาศของอาคารเพือลดปริมาณความร้อนและการปนเปือนของสภาพ ้ ่ ้ แวดล้อมมหภาค

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 47 กรง isolators (ทีไม่มการบังคับการระบายอากาศ) ดังเช่นกรงบางชนิดทีใช้เลียงสัตว์ฟนแทะ มีการระบาย ่ ี ่ ้ ั อากาศซึ่งจำ�กัด (Keller et al. 1989) เพื่อเป็นการชดเชย อาจจำ�เป็นต้องปรับวิธีปฏิบัติทางสัตวบาล ได้แก่ ความถี่ของการเปลี่ยนกรงเพื่อความสอาดถูกหลักสุขาภิบาล การเลือกวัสดุรองนอนที่สัมผัสตัวสัตว์โดยตรง ตำ�แหน่งการวางกรงต่างๆในสิงล้อมรอบอันดับสอง ความหนาแน่นของจำ�นวนสัตว์ในกรง และ/หรือ การลด ่ ความชืนสัมพัทธ์ในสภาพแวดล้อมมหภาคเพือปรับปรุงสภาพแวดล้อมจุลภาคและการกระจายสลายความร้อน ้ ่ การใช้อากาศซ้ำ�อีกเพื่อระบายอากาศในห้องสัตว์ต่างๆ อาจประหยัดพลังงานแต่อาจนำ�มาซึ่งความ เสี่ยงต่างๆ เพราะว่าเชื้อหลายชนิดที่ท�ให้เกิดโรคในสัตว์สามารถอยู่ในอากาศหรือเคลื่อนไปบนพาหะต่างๆ ำ (เช่น ฝุน ละออง) ดังนันอากาศระบายออกซึงถูกนำ�ไปใช้ซ�ภายในระบบ HVAC ส่งต่อให้อกหลายๆ ห้องทำ�ให้ ่ ้ ่ ้ำ ี เกิดความเสี่ยงการปนเปื้อนเชื้อข้ามห้อง อากาศใช้ซ้ำ�ที่มีต้นกำ�เนิดจากบริเวณต่างๆที่ไม่มีการใช้สัตว์ (เช่น บริเวณที่คนอยู่ และบริเวณต่างๆที่ใช้เก็บอาหาร วัสดุรองนอนและพัสดุ) อาจต้องมีการกรองที่เข้มงวด หรือการปรับน้อยกว่า และทำ�ให้เกิดความเสี่ยงของการติดเชื้อน้อยกว่า อย่างไรก็ดีความเสี่ยงในบาง สถานการณ์อาจมากเกินไปที่จะคิดนำ�อากาศมาใช้ซ้ำ� (เช่น ในกรณีของบริเวณห้องลิงและที่มีเชื้ออันตราย) อากาศทีระบายออกก่อนนำ�ไปใช้ซ้ำ�อีกอยางน้อยทีสดควรถูกกรองด้วยแผ่นกรองฝุนละอองทีมประสิทธิภาพ ่ ่ ุ ่ ่ ี 80-95% ตามที่ ASHRAE กำ�หนดเพือกำ�จัดฝุนละอองต่างๆในอากาศออกก่อนการนำ�ไปใช้ซ� (NAFA 1996) ่ ่ ้ำ ขึนอยูกบแหล่งของอากาศ ส่วนประกอบและสัดส่วนของอากาศทีถกนำ�ไปใช้ซ� (เช่น แอมโมเนียและก๊าซอืนๆ ้ ่ั ู่ ้ำ ่ ที่ถูกปล่อยจากอุจจาระในอากาศที่หมุนเวียนจากห้องสัตว์) ทั้งนี้ควรพิจารณาการกรองสารไอระเหยต่างๆ ในบริเวณที่ต้องมีการกรองอากาศ เพื่อความปลอดภัยต่อบุคลากรและ/หรือสัตว์ (เช่น ที่เก็บกักสารอันตราย) ควรประเมินประสิทธิภาพการกรอง การรับภาระและสภาพความสมบูรณ์ การทำ�หน้าทีของระบบ HVAC ทีประสบความสำ�เร็จต้องมีการซ่อมบำ�รุงและการประเมินอย่างสม่�เสมอ ่ ่ ำ อีกทั้งการวัดค่าการทำ�งานที่สิ่งล้อมรอบอันดับสอง การวัดค่าต่างๆดังกล่าวควรรวมถึง ปริมาตรอากาศที่ จ่ายและระบาย การแกว่งขึ้นลงของอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ และความแตกต่างของค่าความดันอากาศ ระหว่างพื้นที่ตลอดจนปัจจัยทางเครื่องกลที่วิกฤตต่างๆ แสงสว่าง แสงสว่างสามารถส่งผลกระทบต่อสรีรวิทยา ร่างกายภายนอกและพฤติกรรมของสัตว์หลายชนิด (Azar et al. 2008; Brainard et al. 1986; Erkert and Grober1986; Newbold et al. 1991; Tucker et al. 1984) ความเครียดทีเกิดจากแสงทีเป็นไปได้ ได้แก่ ความไม่เหมาะสมของช่วงระยะเวลาได้รบแสง ความเข้มของแสง ่ ่ ั และคุณภาพของความยาวคลื่นแสง (Stoskopf1983) ปัจจัยหลายอย่างที่สามารถส่งผลกระทบต่อความจำ�เป็นของแสงต่อสัตว์ ควรถูกพิจารณาเมื่อกำ�หนด ระดับแสงสว่างในห้องเลี้ยงสัตว์ที่พอเหมาะ สิ่งเหล่านี้ได้แก่ ความเข้มและความยาวคลื่นแสง ตลอดจนช่วง เวลาของการสัมผัสแสงของสัตว์ ณ ปัจจุบันและในอดีต และเม็ดสีของตัวสัตว์ ช่วงเวลาของการสัมผัสแสง ในวงจรเวลากลางวันกลางคืน (circadian cycle) อุณหภูมิของร่างกาย สภาวะทางฮอร์โมน อายุ ชนิด เพศ

48 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง และเชื้อสายหรือสายพันธุ์ของสัตว์ (Brainard 1989; Duncan and O’Steen 1985; O’Steen 1980; Saltarelli and Coppola 1979; Semple-Rowland and Dawson 1987; Wax 1977) การศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้ ในสัตว์ฟันแทะและลิงได้แสดงว่าความสำ�คัญของganglion Cells (แตกต่างจาก rods และ cones) ที่มีอยู่ ในจอรับภาพของตาซึ่งมีความไวต่อแสงสำ�หรับการควบคุมระบบประสาทด้านต่อมไร้ท่อ วงจรเวลากลางวัน กลางคืน และ ระบบประสาทด้านพฤติกรรม (Berson et al. 2002; Hanifin and Brainard 2007) เซลล์เหล่านี้ สามารถตอบสนองต่อแสงที่ความยาวคลื่นซึ่งอาจแตกต่างจากตัวรับแสงชนิดอื่นๆ และอาจมีอิทธิพลต่อ การเลือกรูปแบบของแสง ความเข้มแสงและความยาวคลื่นแสงสำ�หรับการวิจัยบางอย่าง ในสภาวะทัวไปควรมีแสงกระจายทัวบริเวณทีมสตว์และให้การส่องสว่างทีพอเพียงสำ�หรับความเป็นอยู่ ่ ่ ่ ี ั ่ ทีดของสัตว์ขณะเดียวกันก็สามารถทำ�ความสะอาดพืนทีได้เรียบร้อยได้ดี การตรวจสัตว์ได้อย่างพอเหมาะ รวม ่ ี ้ ่ ถึงกรงต่างๆทีอยูชนล่างสุดของชันวางกรงและให้ภาวะการทำ�งานทีปลอดภัยสำ�หรับบุคลากร แสงในห้องเลียง ่ ่ ั้ ้ ่ ้ สัตว์ควรมีพอเพียงทังเพือการมองเห็นและเพือการควบคุมระบบประสาทต่อมไร้ทอในวงจรเวลากลางวัน และ ้ ่ ่ ่ ในวงจรกลางวันกลางคืน (Brainard 1989) ช่วงระยะเวลาได้รับแสง (Photoperiod) เป็นตัวกำ�หนดพฤติกรรมทางเพศที่วิกฤติของสัตว์หลายชนิด (Brainard et al. 1986; Cherry 1987) ดังนั้นควรหลีกเลี่ยงการคุกคามด้วยแสงในระหว่างช่วงมืดโดยไม่ตั้งใจ หรือหลีกเลี่ยงให้เกิดน้อยที่สุด เพราะว่าสัตว์บางชนิด เช่น ไก่ (Apeldoorn et al. 1999) จะไม่กินอาหารใน ที่มีแสงน้อยหรือในความมืด ควรถูกจำ�กัดตารางแสงสว่างดังกล่าวให้อยู่ในช่วงเวลาหนึ่งที่จะไม่กระทบความ เป็นอยู่ที่ดีของสัตว์ ควรใช้ระบบการควบคุมแสงสว่างตามเวลาเพื่อให้แน่ใจว่ามีวงจรเวลากลางวันและกลาง คืนเป็นปกติ และควรตรวจสอบการปฏิบัติงานของเครื่องตั้งเวลาเป็นกิจวัตรเพื่อให้แน่ใจว่ามีวงจรถูกต้อง สัตว์ทดลองที่มักใช้บ่อยส่วนใหญ่เป็นสัตว์หากินกลางคืน เพราะว่าหนูแรทขาวเผือกมีความไวต่อ การเกิดจอรับภาพของตาเสือมจากพิษของแสงมากกว่าสัตว์ชนิดอืน (Beaumont 2002) ด้วยเหตุนจงถูกนำ�มา ่ ่ ี้ ึ ใช้เป็นพื้นฐานเพื่อการกำ�หนดระดับแสงสว่างในห้อง (Lanum 1979) ยังไม่มีข้อมูลการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ เกี่ยวกับความเข้มแสงของห้องสำ�หรับสัตว์ชนิดอื่นๆ ระดับแสงที่ 325 ลักซ์ (lux) (30 แรงเทียน) ที่ความสูง ประมาณ 1 เมตร (3.3 ฟุต) จากพื้น พอเพียงสำ�หรับการเลี้ยงสัตว์และไม่ทำ�ให้เกิดอาการทางคลินิก ต่างๆ จากการเสื่อมของจอรับภาพจากพิษของแสงในหนูแรทขาวเผือก (Bellhorn 1980) ระดับแสงที่สูงถึง 400 ลักซ์ (37 แรงเทียน) ซึ่งถูกวัดในห้องว่างที่ความสูง 1 เมตรจากพื้นเป็นที่น่าพอใจสำ�หรับสัตว์ฟันแทะ ถ้าใช้วิธีการจัดการเพื่อป้องกันการถูกทำ�ลายของจอรับภาพในสัตว์เผือก (Clough1982) อย่างไรก็ตาม ประสบการณ์ของสัตว์แต่ละตัวที่มีต่อแสงสามารถมีผลกระทบต่อความไวต่อพิษของแสง แสง 130−270 ลักซ์ ซึ่งสูงกว่าระดับที่เสนอภายใต้ภาวะที่สัตว์ถูกเลี้ยงได้มีการรายงานว่ามีค่าใกล้เคียงกับค่าแรกเริ่มมีการทำ�ลาย ของจอรับภาพในหนูแรทเผือกบางตัว ซึ่งสอดคล้องกับอุบัติการด้านเนื้อเยื่อ ด้านรูปแบบโครงสร้างและ ทางสรีระไฟฟ้า (Semple-Rowland and Dawson 1987) บรรทัดฐานบางอย่างแนะนำ�ความเข้มของแสงที่ต� ่ำ ถึง 40 ลักซ์ที่ตำ�แหน่งของสัตว์อยู่ตรงกลางกรง (NASA 1988) หนูเมาส์และหนูแรทมักชอบกรงที่มีความ

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 49 เข้มแสงต่ำ� (Schlingmann et al. 1993a) หนูอายุน้อยชอบความเข้มแสงต่�กว่าสัตว์โตเต็มวัย (Wax 1977) ำ สำ�หรับสัตว์ชนิดที่เคยมีรายงานว่ามีความไวต่อการเสื่อมของจอรับภาพเนื่องจากพิษของแสง ควรให้แสงที่มี ความความเข้มระดับกรงอยู่ระหว่าง 130 และ 325 ลักซ์ ความเข้มแสงมีค่าลดลงตามพื้นที่ระยะห่างจากแหล่งกำ�เนิดแสง ดังนั้นตำ�แหน่งของกรงบนชั้นวางจึง มีผลต่อความเข้มแสงที่สัตว์ได้รับ ความเข้มแสงอาจแตกต่างกันได้มากถึง 80 เท่าสำ�หรับกรงใสต่างๆ ที่วาง อยู่ชั้นบนถึงล่างสุด และ มีรายงานความแตกต่างมากถึง 20 เท่าภายในกรงเดียงกัน (Schlingmann et al. 1993a,b) วิธีปฏิบัติการจัดการต่างๆ เช่น การหมุนเวียนตำ�แหน่งของกรงโดยสัมพันธ์กับแหล่งของแสง (Greenman and others 1982) หรือให้วิธีต่างๆเพื่อควบคุมการสัมผัสต่อแสงด้วยตัวเองโดยวิธีต่างๆ ทางพฤติกรรม (เช่น วัสดุสำ�หรับทำ�รัง หรือรองนอนพอเพียงสำ�หรับการมุดหลบซ่อนตัว) สามารถลดการ กระตุ้นของแสงที่ไม่เหมาะสม มักใช้การปรับเปลี่ยนความเข้มแสงเพื่ออำ�นวยความสะดวกสำ�หรับโปรโตคอล วิจัย สัตว์บางชนิดและเพื่อการประหยัดพลังงาน อย่างไรก็ดี ระบบนั้นควรเอื้อต่อการสังเกตและดูแลสัตว์ ควรระมัดระวังการปฏิบัติเพราะการเพิ่มความเข้มแสงในตอนกลางวันเพื่อการซ่อมบำ�รุงต่างๆ ได้มีรายงาน แสดงการเปลี่ยนสรีระของตัวรับแสง และสามารถเปลี่ยนการควบคุมวงจรเวลากลางวันกลางคืน (NRC 1996; Reme et al. 1991; Terman et al. 1991) เสียงและการสั่นสะเทือน เสียงซึ่งเกิดจากสัตว์และกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์เป็นสิ่งที่มีอยู่ในสถานที่เลี้ยงสัตว์ (Pfaff and Stecker 1976) ดังนั้น ควรพิจารณาควบคุมเสียงในการออกแบบสถานที่และการปฏิบัติ (Pekrul 1991) การประเมิน ผลกระทบทีแฝงอยูของเสียงต่อสัตว์ยนยันการพิจารณาความเข้ม ความถี่ ความเร็วของการเริมต้น ระยะเวลา ่ ่ ื ่ และความสันสะเทือนของเสียงทีอาจมีแฝงอยูและช่วงระยะของการได้ยน ประวัตของการได้ยนเสียงและความ ่ ่ ่ ิ ิ ิ ไวต่อผลกระทบของเสียงของสัตว์แต่ละชนิด เชื้อสายหรือสายพันธุ์ ในขณะเดียวกันอาจมีข้อควรคำ�นึงว่า การประกอบอาชีพที่มีสิ่งคุกคามจากเสียงของสัตว์หรือการปฏิบัติต่างๆซึ่งทำ�ให้เกิดเสียงดังที่ความเข้มมาก พออาจยืนยันให้มีการป้องกันการได้ยิน การแบ่งแยกพื้นที่ของคนและสัตว์ช่วยลดการรบกวนทั้งต่อคนและสัตว์ที่อยู่ในอาคาร ควรนำ�สัตว์ที่มี เสียงดัง เช่น สุนัข สุกร แพะ ลิงและนกบางชนิด (เช่น zebra finches) ออกไปเลี้ยงห่างจากสัตว์ที่เงียบกว่า เช่น สัตว์ฟนแทะ กระต่ายและแมว ควรออกแบบสภาพแวดล้อมให้สตว์ซงทำ�เสียงดังอยูได้อย่างสบายมากกว่า ั ั ึ่ ่ การพึ่งวิธีการลดเสียง เสียงที่ดังมากกว่า 85 เดซิเบลมีผลกระทบต่อการได้ยินและส่วนที่ไม่เกี่ยวข้องกับ การได้ยิน (Fletcher1976; Peterson 1980) ได้แก่ ภาวะการมีเม็ดเลือดขาวชนิดอิโอซิโนฟิลต่ำ�ลง การเพิ่ม น้ำ�หนักของต่อมหมวกไตและการเจริญพันธุ์ของสัตว์ฟันแทะ (Geber et al. 1966; Nayfield and Besch 1981; Rasmussen et al. 2009) การเพิ่มความดันโลหิตในสัตว์พวกลิง (Peterson et al. 1981) และอาจจำ�เป็นต้อง ให้การป้องกันการได้ยินสำ�หรับบุคลากร (OSHA 1998) สัตว์หลายชนิดสามารถได้ยินความถี่ของเสียงที่คน

50 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง ไม่ได้ยิน (Brown and Pye 1975; Heffner and Heffner 2007) ตัวอย่างเช่น สัตว์ฟันแทะมีความไวต่อ พลังเสียงเหนือความถี่มากกว่า 20,000 ไซเคิลต่อวินาที (ultrasound) (Olivier et al. 1994) ผลกระทบที่แฝง อยู่ของอุปกรณ์ (เช่น จอเครื่องเล่นวีดีโอ Sales 1991; Sales et al. 1999) และวัสดุต่างๆที่ท�ให้เกิดเสียงใน ำ ช่วงการได้ยนของสัตว์ทอยูใกล้เคียง ดังเช่น เครืองเล่นวีดโอ (Sale 1991) กลายเป็นตัวแปรสำ�หรับการทดลอง ิ ี่ ่ ่ ี วิจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ กิจกรรมต่างๆที่อาจมีเสียงดังควรถูกทำ�ในห้อง หรือบริเวณที่ห่างจากบริเวณที่ สัตว์อยู่ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำ�ได้ เนืองจากการเปลียนแปลงต่างๆของรูปแบบของการได้ยนเสียงมีผลกระทบแตกต่างกันในสัตว์ตางชนิด ่ ่ ิ ่ กัน (Amario et al. 1985; Clough 1982) บุคลากรควรพยายามลดการเกิดเสียงที่ไม่จำ�เป็น สามารถลดเสียง ที่ดังเกินไป และดังเป็นระยะๆ ลงได้โดยการฝึกอบรมพนักงานให้ใช้วิธีทดแทนวิธีที่เกิดเสียง การใช้ล้อและ กันชนชนิดบุนวมกับรถเข็น รถบรรทุกและชั้นวางของ และการซ่อมบำ�รุงอย่างถูกต้อง (เช่น การหยอดน้ำ�มัน ลูกล้อ) ไม่ควรใช้วิทยุ นาฬิกาปลุกและสิ่งกำ�เนิดเสียงอื่นๆในห้องเลี้ยงสัตว์ เว้นเสียแต่ว่าเป็นส่วนหนึ่งของ โครงการงานวิจัยหรือเป็นโครงการการเสริมสร้างคุณภาพชีวิต (enrichment) ที่ได้รับการอนุมัติแล้ว ควรปิด วิทยุหรือสิ่งกำ�เนิดเสียงใดๆ เมื่อสิ้นสุดวันทำ�งานเพื่อลดความเปลี่ยนแปลงที่อาจมีผลเสียทางสรีระ (Baldwin 2007) ขณะที่การสั่นสะเทือนที่มีอยู่ในทุกๆสถานที่และการเลี้ยงสัตว์ การสั่นมากเกินไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับ การเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีและการสืบพันธุ์ของสัตว์ทดลอง (Briese et al. 1984; Carman et al. 2007) และ กลายเป็นตัวแปรสำ�หรับการทดลองวิจยทีไม่สามารถควบคุมได้ แหล่งกำ�เนิดการสันสะเทือนต่างๆทีอาจมีอยู่ ั ่ ่ ่ ภายในหรือภายนอกสถานทีเลียงสัตว์ ในกรณีหลังซึงมีการสันสะเทือนจากพืนดินอาจกระทบทังโครงสร้างและ ่ ้ ่ ่ ้ ้ ส่วนประกอบภายใน ได้แก่ ชั้นวางและกรงสัตว์ ระบบที่อยู่สัตว์ต่างๆที่มีการเคลื่อนที่ ได้แก่ เครื่องเป่าลม ของระบบกรงที่มีการระบายอากาศ อาจทำ�ให้เกิดการสั่นที่สามารถส่งผลกระทบต่อสัตว์ที่เลี้ยงอยู่ภายใน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการทำ�งานผิดปกติ การสั่นสะเทือนผันแปรตามความเข้ม ความถี่และระยะเวลา ได้เช่นเดียวกันกับเสียง อาจใช้เทคนิคอย่างมากมายเพื่อลดการเกิดการสั่นสะเทือนรวมทั้งจากมนุษย์ ควรหลีกเลี่ยงการสั่นสะเทือนมากเกินไป ที่อยู่อาศัยสำ�หรับสัตว์บก สภาพแวดล้อมจุลภาค (สิ่งล้อมรอบอันดับแรก) ควรให้สัตว์ทุกตัวอาศัยอยู่ภายใต้สภาวะที่มีที่ว่างอย่างพอเพียง ตลอดจนให้มีโครงสร้างสนับสนุน และวัสดุต่างๆที่ต้องการเพื่อตอบสนองความจำ�เป็นต่างๆทางกายภาพ สรีระและพฤติกรรมสภาพแวดล้อม ทีลมเหลวไม่ตอบสนองความจำ�เป็นของสัตว์อาจมีผลต่อการพัฒนาสมองอย่างผิดปกติ การทำ�หน้าทีทางสรีระ ่้ ่ ผิดปกติและเกิดพฤติกรรมต่างๆผิดปกติ (Garner 2005; van Praag et al. 2000; Würbel 2001) ที่อาจกระทบ

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 51 ทังความเป็นอยูทดของสัตว์และผลการทดลองทีเชือถือได้ อาจจำ�เป็นต้องเพิมพูนสิงล้อมรอบอันดับแรกหรือ ้ ่ ี่ ี ่ ่ ่ ่ ให้ที่ว่างเพื่อป้องกันผลกระทบเหล่านั้น (ดู เรื่องการเพิ่มพูนสภาพแวดล้อม) ที่อยู่อาศัยของสัตว์หรือสิ่งล้อมรอบที่เหมาะสมควรคำ�นึงถึงความจำ�เป็นต่างๆทางสังคมของสัตว์ ควรให้สตว์สงคมอยูดวยกันเป็นคูหรือเป็นกลุมซึงเข้ากันได้ดอย่างยังยืน ยกเว้นสัตว์จ�เป็นต้องอยูตวเดียวเพือ ั ั ่ ้ ่ ่ ่ ี ่ ำ ่ ั ่ เหตุผลทางการทดลองหรือเพราะว่าเข้ากลุ่มไม่ได้ (ดูเรื่องการจัดการพฤติกรรมและสังคม) มักต้องปรับเสริม ให้มโครงสร้างต่างๆสำ�หรับการเลียงแบบสังคม (เช่น แผงทีนง แผงบังตา ทีหลบภัย) และควรให้มสวนประกอบ ี ้ ่ ั่ ่ ี ่ ต่างๆที่สำ�คัญ (เช่น อาหาร น้ำ� และที่กำ�บัง) ในรูปแบบที่ไม่สามารถใช้ได้เฉพาะสัตว์ที่เด่นเท่านั้น (ดู เรื่อง การเพิ่มพูนสภาพแวดล้อม) สิ่งล้อมรอบอันดับแรกควรให้สภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยซึ่งไม่ยอมให้สัตว์หลุดหนี ควรทำ�ด้วยวัสดุ ที่คงทนต่อการกัดกร่อน ทนทานต่อการทำ�ความสะอาดอย่างเข้มงวด และการจับต้องอย่างสม่�เสมอ ไม่เป็น ำ อันตรายต่อสุขภาพและการใช้สัตว์ในการวิจัย ควรออกแบบและสร้างสิ่งล้อมรอบอันดับแรกเพื่อป้องกัน อุบัติเหตุ ไม่ให้ตัวสัตว์หรือแขน ขา นิ้วติดคา และปราศจากขอบหรือส่วนยื่นที่แหลมคมซึ่งสามารถทำ�ให้ สัตว์หรือคนบาดเจ็บ ควรมีผิวเรียบไม่ยอมให้อะไรผ่านได้ มีสัน มีข้อต่อ มุมและผิวทับซ้อนกันให้น้อยที่สุด เพือลดการสะสมสิงสกปรก เศษผง และความชืนให้นอยทีสด และ สามารถทำ�ความสะอาดและฆ่าเชือได้อย่าง ่ ่ ้ ้ ่ ุ ้ พอใจควรรักษาซ่อมแซมสิ่งล้อมรอบอันดับแรกทั้งหมดอย่างดีเพื่อป้องกันสัตว์หลุดหนี หรือบาดเจ็บ ส่งเสริม ให้สัตว์สบายกายและสะดวกต่อการสุขาภิบาลและการบริการ จำ�เป็นต้องซ่อมหรือทดแทนอุปกรณ์ที่ขึ้นสนิม หรือทำ�ปฏิกิริยากับออกซิเจนซึ่งบั่นทอนสุขภาพหรือความปลอดภัยของสัตว์ วัสดุที่คงทนน้อยกว่า เช่น ไม้ อาจมีความเหมาะสมในบางสถานะการณ์ ได้แก่ คอกกลางแจ้ง แผงที่นั่ง โครงสร้างสำ�หรับปีน บริเวณ สำ�หรับพักผ่อนและรั้วโดยรอบสำ�หรับสิ่งล้อมรอบอันดับแรก จำ�เป็นต้องเปลี่ยนสิ่งที่เป็นไม้เป็นระยะๆ เพราะชำ�รุดหรือยากต่อการสุขาภิบาล การทาสีหรืออุดผิวให้สนิทด้วยวัสดุทไม่เป็นพิษอาจปรับปรุงความคงทน ี่ ในหลายกรณี พื้นควรทึบ มีช่อง หรือ ปูตามแนวยาวโดยมีพื้นผิวที่ลื่นยาก ในกรณีที่พื้นมีช่องหรือปูตามแนวยาว ควรมีช่องหรือร่องที่มีขอบเรียบ ควรมีขนาดหรือพื้นที่ซึ่งได้สัดส่วนกับขนาดของสัตว์ที่อาศัยอยู่เพื่อลด การบาดเจ็บและการเกิดบาดแผลทีตนให้มนอยทีสด ถ้าใช้พนลวดตาข่าย การให้บริเวณพืนทึบสำ�หรับพักผ่อน ่ ี ี ้ ่ ุ ื้ ้ อาจมีประโยชน์เพราะพืนชนิดนีสามารถทำ�ให้เกิดบาดแผลทีตนของสัตว์ฟนแทะและกระต่าย (Drescher 1993; ้ ้ ่ ี ั Fullerton and Gilliatt 1967; Rommers and Meijerhof 1996) ขนาดและน้�หนักของสัตว์ตลอดจนระยะเวลา ำ ในการอยู่อาศัยบนพื้นลวดตาข่ายอาจมีบทบาทสำ�คัญในการพัฒนาสภาวะเช่นนี้ (Peace et al. 2001) เมื่อให้มีตัวเลือก สัตว์ฟันแทะชอบพื้นทึบ (ที่มีวัสดุรองนอน) มากกว่าพื้นลวดตาข่าย (Blom et al. Manser et al. 1995, 1996)

52 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง สัตว์ควรมีวัสดุรองนอนและ/หรือโครงสร้างสำ�หรับพักผ่อนและนอนหลับอย่างพอเพียง วัสดุรองนอน ชนิดสัมผัสได้เปิดโอกาสให้สัตว์หลายชนิด (เช่น สัตว์ฟันแทะ) แสดงพฤติกรรมเฉพาะของสัตว์ชนิดนั้น ได้แก่ การคุ้ยเขี่ยหาอาหาร การขุดหลุม การหลบอาศัยในโพรงและการทำ�รัง (Armstrong et al. 1998; Ivy et al. 2008) นอกจากนี้ยังดูดซับปัสสาวะและอุจจาระเพื่อเอื้อต่อการทำ�ความสะอาดและการสุขาภิบาล วัสดุรอง นอนเกือหนุนการควบคุมอุณหภูมถาให้ในปริมาณทีพอเพียงสำ�หรับสร้างรังหรือทำ�โพรง (Gordon 2004) ควร ้ ิ ้ ่ ให้วัสดุทำ�รังและ/หรือโครงสร้างบนพื้นฐานความต้องการเฉพาะของสัตว์แก่พ่อแม่พันธุ์อย่างพอเพียง (หนู เมาส์ Sherwin 2002; หนูแรท Lawlor 2002; เจอร์บิล Waiblinger 2002) มีระบบที่อยู่อาศัยพิเศษ (เช่น กรงแยกเดี่ยว IVCs และ isolators สำ�หรับสัตวที่เป็น gnotobiotic1) สำ�หรับสัตว์ฟนแทะและสัตว์บางชนิด ระบบนีถกออกแบบให้ลดการแพร่ฝนละอองในอากาศระหว่างกรงหรือ ั ้ ู ุ่ กลุมของกรง อาจต้องให้มการปฏิบตทางสัตวบาลทีแตกต่าง ได้แก่ การเปลียนความถีของการเปลียนกรง การ ่ ี ั ิ ่ ่ ่ ่ จับด้วยวิธีไร้เชื้อ การทำ�ความสะอาด การฆ่าเชื้อหรือการทำ�ให้ปลอดเชื้อด้วยวิธีพิเศษเพื่อลดการแพร่เชื้อ จุลชีพโดยวิธีอื่นนอกเหนือจากการแพร่ทางอากาศ ควรพัฒนากลยุทธ์ทเหมาะสมสำ�หรับสัตว์บางชนิดและนำ�ไปปฏิบตโดยการบริหารการดูแลสัตว์โดยการ ี่ ั ิ ปรึกษาผู้ใช้สัตว์และสัตวแพทย์ และทบทวนโดย IACUC ที่อยู่อาศัยควรให้สัตว์มีสุขภาพดีและมีความเป็นอยู่ ที่ดีขณะเดียวกันตลอดจนสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การใช้สัตว์ตามที่ตั้งใจ อาจเสาะหาคำ�แนะนำ�จากผู้ เชี่ยวชาญเมื่อมีสัตว์ชนิดใหม่ หรือเมื่อมีความต้องการพิเศษที่เกี่ยวข้องกับสัตว์หรือการใช้สัตว์ตามความมุ่ง หวัง (เช่น สัตว์ที่ได้รับการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วิธีปฏิบัติที่มีการล่วงล้ำ�หรือเป็นสิ่งอันตรายต่างๆ) ควร ประเมินวัตถุประสงค์เพือพิสจน์วามีสภาพแวดล้อม ทีอยูและการจัดการสัตว์อย่างพอเพียง เมือใดทีท�ได้ควร ่ ู ่ ่ ่ ่ ่ ำ บันทึกวิธีปฏิบัติประจำ�ในการจัดการสัตว์เพื่อให้แน่ใจว่ามีการจัดการและการดูแลที่สม่ำ�เสมอ การเพิ่มพูนสภาพแวดล้อม จุดมุงหมายหลักของการเพิมพูนสภาพแวดล้อมคือส่งเสริมความเป็นอยูทดของสัตว์โดยการกระตุนสัตว์ ่ ่ ่ ี่ ี ้ ให้มีการรับรู้และการสั่งการด้วยการใช้โครงสร้างและสิ่งต่างๆ ซึ่งสนับสนุนการแสดงออกทางพฤติกรรม เฉพาะชนิดสัตว์และส่งเสริมความเป็นอยูทดของสัตว์ผานการออกกำ�ลังกาย กิจกรรมการจับต้องโยกย้ายสิงของ ่ ี่ ี ่ ่ และการเร่งเร้าการรับรู้ที่มีคุณสมบัติเฉพาะของสัตว์แต่ละชนิด (NRC 1998a; Young 2003) ตัวอย่างของ สิ่งเพิ่มพูนได้แก่ โครงสร้างเพิ่มเติม เช่น แผงที่นั่ง และแผงบังตา (Novak et al. 2007) ชั้นยกสูงให้แมว (Overall and Dyer 2005; van den Bos and de Cock Buning 1994) และ กระต่าย (Stauffacher 1992) 1 Gnotobiotic: สัตว์ทปลอดเชือโรคหรือเคยปลอดเชือโรค ซึงถ้ามีสวนประกอบเชือจุลชีพทีเกียวข้องก็จะระบุชนิดได้ (พจนานุกรม ี่ ้ ้ ่ ่ ้ ่ ่ การแพทย์อิเลคโทรนิคของ Stedman 2006. Lippincott & Wilkins)

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 53 และหิงสำ�หรับหนูตะเภา (Baumans 2005) ตลอดจนสิงของสำ�หรับจับต้องต่างๆ เช่น วัตถุชนิดแปลกใหม่ และ ้ ่ อุปกรณ์สำ�หรับคุ้ยหาอาหารสำ�หรับลิง ของเล่นสำ�หรับลิง สุนัข แมวและสุกร แท่งไม้สำ�หรับให้สัตว์ฟันแทะ กัดเคี้ยว และวัสดุสำ�หรับทำ�รังให้หนูเมาส์(Gaskill et al. 2009; Hess et al. 2008; Hubrecht 1993; Lutz and Novak 2005; Olsson and Dahborn 2002) ควรพิจารณาความแปลกใหม่ด้วยการหมุนเวียนหรือทดแทน สิ่งเพิ่มพูนต่างๆ อย่างไรก็ดี การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมบ่อยเกินไปอาจเป็นความเครียด การเพิ่มพูนที่วางแผนอย่างดีช่วยให้สัตว์ได้มีทางเลือกต่างๆและการควบคุมสภาพแวดล้อมของ สัตว์เหล่านั้นที่ระดับต่างๆ ซึ่งให้โอกาสสัตว์ได้รับมือกับความเครียดจากสภาพแวดล้อม (Newberry 1995) ตัวอย่างเช่น ที่บังตาทำ�ให้ลิงหลีกเลี่ยงการต่อสู้กัน ชั้นที่ยกสูงสำ�หรับกระต่ายและหิ้งสำ�หรับสัตว์ฟันแทะ ช่วยให้หลบหนีได้ถ้าถูกรบกวน (Baumans 1997; Chmiel and Noonan 1996; Stauffacher 1992) และ วัสดุสำ�หรับทำ�รังและวัสดุรองนอนซึ่งมีความหนาฟู ช่วยให้หนูเมาส์ควบคุมอุณหภูมิของสัตว์เหล่านั้น และ หลีกเลี่ยงความเครียดจากความหนาวเย็นขณะพักและนอนหลับ (Gaskill et al. 2009; Gordon 1993, 2004) สิงของไม่ใช่ทกชนิดทีเพิมให้กบสภาพแวดล้อมของสัตว์แล้วมีประโยชน์ตอความผาสุขของสัตว์ ตัวอย่าง ่ ุ ่ ่ ั ่ เช่น ลูกหินได้ถูกใช้เป็นตัวกระตุ้นความเครียดในการศึกษาความกระตือรือล้นของหนูเมาส์ (De Boer and Koolhaas 2003) บ่งชี้ให้เห็นว่า ของบางอย่างอาจเป็นภัยต่อความเป็นอยู่ที่ดีของสัตว์ สำ�หรับสัตว์พวกลิง วัตถุใหม่ๆ อาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการแพร่โรค (Bayne et al. 1993) การให้คุ้ยหาอาหารอาจนำ�ไปสู่การเพิ่ม น้ำ�หนักตัว (Brent 1995) ขี้กบอาจทำ�ให้เกิดภูมิแพ้และผิวหนังเป็นผื่นแดงในสัตว์บางตัว และวัตถุบางชนิด อาจทำ�ให้บาดเจ็บจากการมีสิ่งแปลกปลอมในลำ�ไส้ (Hahn et al. 2000) แผงกั้นและที่ก�บังได้ทำ�ให้เกิดความ ำ ก้าวร้าวชัดเจนของหนูตัวผู้บางสายพันธุ์ เป็นผลให้มีความเครียดทางสังคมและการบาดเจ็บ (เช่น Bergmann et al. 1994; Haemisch et al. 1994) ความเครียดทางสังคมมักเกิดขึ้นได้เมื่อวัตถุต่างๆถูกสัตว์ตัวที่เด่นถือเป็น สิทธ์ไว้แต่เพียงผู้เดียว (Bergmann et al. 1994) IACUC นักวิจัย และ สัตวแพทย์ควรทบทวนโปรแกรมการเพิ่มพูนอย่างสม่ำ�เสมอ เพื่อให้มั่นใจว่า มีประโยชน์ต่อความเป็นอยู่ที่ดีของสัตว์ และสอดคล้องกับเป้าหมายการใช้สัตว์ ควรปรับปรุงโปรแกรมให้ ทันสมัยตามความจำ�เป็นเพื่อให้มั่นใจว่าเป็นความรู้ที่ทันการณ์ บุคลากรผู้มีหน้าที่ดูแลและให้การสัตวบาล ควรได้รับการฝึกฝน อบรมเรื่องชีววิทยาทางพฤติกรรมของสัตว์ที่ทำ �งานด้วยเพื่อสอดส่องดูแลผลของ การเพิ่มพูน ตลอดจนระบุได้ว่ามีการเกิดพฤติกรรมที่เกิดผลเสียหรือผิดปกติ สิ่งเพิ่มพูนมีผลต่อร่างกายของสัตว์เหมือนกันกับปัจจัยทางสภาพแวดล้อมชนิดอื่นๆ (เช่น พื้นที่ แสง เสียง อุณหภูมิ และวิธีการดูแลสัตว์) และอาจกระทบผลลัพธ์ของการทดลอง ดังนั้นจึงควรพิจารณาว่า เป็นตัวแปรอิสระและถูกควบคุมอย่างเหมาะสม

54 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง นักวิทยาศาสตร์บางท่านได้แสดงข้อกังวลว่าสิ่งเพิ่มพูนสภาพแวดล้อมอาจส่งผลกระทบต่อมาตรฐาน ของการทดลองโดยเป็นการนำ�ความผันแปร มีการเพิ่มไม่เพียงแค่รายการพฤติกรรมสัตว์อย่างหลากหลาย แต่อาจเพิ่มการแปรเปลี่ยนการตอบสนองที่สัตว์เหล่านั้นมีต่อการทดสอบต่างๆเพื่อการทดลอง (เช่น Bayne 2005; Eskola et al. 1999; Gärtner 1999; Tsai et al. 2003) การศึกษาอย่างเป็นระบบไม่ได้สนับสนุน ความเชื่อเช่นนี้ (Wolfer et al 2004) มีการระบุว่าสภาวะที่อยู่อาศัยต่างๆสามารถเพิ่มพูนได้โดยไม่ส่งผลเสีย ใดๆต่อความแม่นยำ�หรือผลการทดลองซึ่งทำ�ซ้ำ�อีก อาจจำ�เป็นต้องทำ�วิจัยเพิ่มเติมอีกเพื่อยืนยันข้อสรุป เช่นนี้ อย่างไรก็ดีได้มีการแสดงว่าสภาวะต่างๆ ที่ส่งผลให้มีการกระตุ้นความเครียดในระดับสูงกว่า ทำ�ให้เพิ่ม ความผันแปรของข้อมูลการทดลอง (เช่น Macrì et al 2007) เพราะว่าการเพิ่มพูนสภาพแวดล้อมอย่าง พอเพียงอาจลดความกระวนกระวายและการตอบสนองต่อความเครียด (Chapillon et al. 1999) ตลอดจน เกี่ยวข้องกับการตอบสนองต่อการทดสอบไวขึ้นและลดการใช้สัตว์ (Baumans 1997) ที่พัก หรือที่อยู่อาศัยกลางแจ้ง ที่พักหรือที่อยู่อาศัยกลางแจ้ง (ได้แก่ คอก กรง ทุ่งหญ้าสำ�หรับปศุสัตว์ เกาะ) เป็นวิธีการอยู่อาศัย แบบอันดับแรกสำ�หรับสัตว์บางชนิด และเป็นที่ยอมรับในหลายสถานการณ์ สัตว์ต่างๆที่ให้อยู่ภายนอกใน ลู่วิ่ง คอกหรือสิ่งล้อมรอบขนาดใหญ่ต่างๆควรมีการปกป้องจากอุณหภูมิหรือสภาวะอากาศที่เลวร้ายอื่นๆ ที่สูงเกินไป และต้องให้โอกาสการหลบหนีต่างๆอย่างพอเพียง (สำ�หรับสัตว์ตัวที่อ่อนแอ) โดยปกติเป้าหมาย เหล่านี้สามารถทำ�ให้สำ�เร็จได้โดยการให้ที่กันลม เพิงที่พักซึ่งเหมาะสมกับชนิดของสัตว์ บริเวณร่มเงา บริเวณที่มีการระบายลมด้วยการบังคับ โครงสร้างที่มีเครื่องแผ่ความร้อน และ/หรือโดยการให้หลบหนีไปยัง พืนทีซงปรับสภาพไว้ ดังเช่น พืนทีในร่มของลูวง เพิงทีพกควรมีขนาดใหญ่พอเพียงสำ�หรับสัตว์ทกตัวทีเลียงไว้ ้ ่ ึ่ ้ ่ ่ ิ่ ่ ั ุ ่ ้ ทั้งหมด สัตว์ทุกตัวเข้าถึงได้ทุกเวลา มีการระบายลมเพียงพอ และถูกออกแบบเพื่อป้องกันการหมักหมม ของเสียต่างๆและความเปียกชื้นมากเกินไป ควรสร้าง โรงเรือน อุโมงค์ กล่อง หิ้ง แคร่ที่นั่ง และเครื่อง ประกอบอื่นๆ ด้วยวิธีและวัสดุซึ่งเอื้อต่อการทำ�ความสะอาด หรือการถอดเปลี่ยนโดยสอดคล้องกับวิธีปฏิบัติ ทางสัตวบาลซึ่งยอมรับได้ พื้นหรือพื้นผิวต่างๆที่ระดับพื้นดินของสถานที่พักกลางแจ้งอาจปกคลุมด้วยดิน วัสดุรองนอนสำ�หรับ ซึมซับ ทราย กรวด หญ้าหรือวัสดุอื่นที่มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกันที่สามารถเก็บออกและเปลี่ยนได้เมื่อจำ�เป็น เพื่อให้แน่ใจว่ามีการสุขาภิบาลอย่างเหมาะสม ควรหลีกเลี่ยงการพอกพูนของเสียจากสัตว์และน้�ขังมากเกินำ ไป ตัวอย่างเช่น การใช้พื้นผิวที่ปรับระดับ หรือลาดเอียงระบายน้� พื้นผิวอื่นๆ ควรทนทานต่อสิ่งต่างๆ และ ำ ดูแลซ่อมบำ�รุงได้ง่าย การจัดการทีพกอาศัยกลางแจ้งอย่างสัมฤทธิผลพึงพากลุมของสัตว์เข้ากันได้อยูเป็นสังคมอย่างคงที่ การ ่ ั ์ ่ ่ ่ ให้อาหารและที่พักที่พอเพียงและเหมาะสมกับชนิดของสัตว์ การมีระยะเวลาปรับตัวให้คุ้นเคยอย่างพอเพียง ก่อนการเปลี่ยนฤดูกาลเมื่อสัตว์ถูกนำ�ไปสู่ที่พักกลางแจ้งเป็นครั้งแรก การฝึกสัตว์ให้ยอมร่วมมือกับบุคลากร

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 55 ทางสัตวแพทย์หรือนักวิจัย และยอมเข้าซองหรือกรงเพื่อการจับบังคับหรือการขนส่ง และมีความปลอดภัย อย่างพอเพียง โดยการใช้รั้วกั้นโดยรอบหรือโดยวิธีอื่นๆ สภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ พื้นที่ทุ่งหญ้าและเกาะต่างๆ อาจให้สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสำ�หรับการดำ�รงหรือการผลิตสัตว์ และสำ�หรับวิธีวิจัยบางอย่าง การใช้สภาพแวดล้อมเหล่านี้จะสูญเสียการควบคุมโภชนาการ การดูแลสุขภาพ การเฝ้าระวังโรค และจัดการประวัติสายพันธุ์บางอย่าง ควรจัดการให้ข้อจำ�กัดเหล่านี้สมดุลกับผลประโยชน์ ในการที่สัตว์ได้อยู่ในสภาพใกล้เคียงธรรมชาติมากกว่า สัตว์ควรถูกเพิ่มเข้า ย้ายออก และนำ�กลับสู่กลุ่มสังคม ต่างตามสภาพดังนี้ด้วยการพิจารณาอย่างเหมาะสมถึงผลกระทบต่อสัตว์แต่ละตัวและต่อกลุ่ม ควรทำ �ให้ แน่ใจว่า มีเสบียงอาหาร น้ำ�สะอาด ที่พักตามธรรมชาติหรือเพิงที่พักอย่างเพียงพอ พื้นที่ ข้อควรคำ�นึงสำ�หรับสัตว์ต่างๆโดยทั่วไป ความจำ�เป็นของพื้นที่สำ�หรับสัตว์เป็นสิ่งซับซ้อนและการพิจารณา เฉพาะน้ำ � หนั ก ของสั ต ว์ ห รื อ พื้ น ที่ ผิ ว เท่ า นั้ น อาจไม่ เ พี ย งพอ ข้ อ ควรคำ � นึ ง ที่ สำ � คั ญ สำ � หรั บ การกำ � หนด ความจำ�เป็นของพื้นที่ได้แก่ อายุและเพศของสัตว์ จำ�นวนของสัตว์ที่ให้อยู่รวมกันและระยะเวลาการปรับตัว การใช้สัตว์ตามที่ตั้งใจไว้ (เช่น การผลิต เปรียบเทียบกับ การทดลอง) และ ความจำ�เป็นพิเศษใดๆ ที่สัตว์ เหล่านั้นอาจมี (เช่น ที่ว่างตามแนวตั้งสำ�หรับสัตว์ชนิดที่ห้อยโหนตามต้นไม้ หรือ การปรับลดอุณหภูมิสำ�หรับ สัตว์เลือดเย็น) ในหลายๆกรณี ตัวอย่างเช่น สัตว์วัยรุ่นต่างๆซึ่งมักมีน�หนักน้อยกว่าสัตว์โตเต็มวัยแต่ปราด ้ำ เปรียวกว่า อาจต้องจัดให้มีพื้นที่มากกว่าเมื่อเทียบกับน้ำ�หนักตัว (Ikemoto and Panksepp 1992) สัตว์ต่างๆ ทีอยูรวมกันเป็นกลุมสังคมสามารถแบ่งส่วนพืนทีกน ดังนันปริมาณพืนทีทตองให้อาจลดลงเมือขนาดกลุมใหญ่ ่ ่ ่ ้ ่ั ้ ้ ่ ี่ ้ ่ ่ ขึน ดังนัน กลุมขนาดใหญ่ตางๆอาจเลียงให้อยูทความหนาแน่นฝูงมากกว่าสัตว์ทเลียงเป็นกลุมเล็ก หรือเลียง ้ ้ ่ ่ ้ ่ ี่ ี่ ้ ่ ้ อยูตวเดียว สัตว์ทอยูรวมกันเป็นกลุมสังคมควรมีพนทีพอเพียงและความซับซ้อนของโครงสร้างเพือเอือให้สตว์ ่ ั ี่ ่ ่ ื้ ่ ่ ้ ั เหล่านั้นหลบหนีความก้าวร้าว หรือหลบซ่อนตัวจากสัตว์ตัวอื่นที่เป็นคู่หรือกลุ่มของมัน สัตว์พ่อแม่พันธุ์ จะต้องการพื้นที่ว่างมากกว่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าลูกสัตว์เกิดใหม่ๆจะเลี้ยงอยู่ด้วยกันกับแม่ หรืออยู่เป็น กลุ่มเพื่อแพร่ขยายพันธุ์จนถึงอายุหย่านม คุณภาพของพื้นที่ว่างยังมีผลต่อการใช้ประโยชน์ได้ สิ่งล้อมรอบที่ ซับซ้อนและมีสิ่งของเพิ่มพูนสภาพแวดล้อมอาจเพิ่มการเคลื่อนไหวและส่งเสริมการแสดงพฤติกรรมเฉพาะ ตามชนิดสัตว์ ด้วยเหตุนั้นจึงมีความจำ�เป็นให้มีพื้นที่เพิ่มขึ้น ดังนั้นจึงไม่มีสูตรในอุดมคติใดๆสำ�หรับคำ�นวณ พื้นที่จำ�เป็นสำ�หรับสัตว์ตัวหนึ่ง บนพื้นฐานแค่ขนาดตัวหรือน้ำ�หนักตัวแต่เพียงอย่างเดียว และผู้อ่านควรใช้ ดัชนีสมรรถภาพต่างๆ ที่ได้อภิปรายไว้ในบทนี้ นำ�ไปพิจารณาเมื่อมีการใช้ข้อแนะนำ�ต่างๆตามชนิดของ สัตว์โดยเฉพาะที่ได้แสดงไว้ในหน้าต่อๆไป

56 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง การคำ�นึงถึงเฉพาะพืนทีพนแต่เพียงอย่างเดียวนันไม่เพียงพอในการกำ�หนดขนาดกรง ในสัตว์บางชนิด ้ ่ ื้ ้ ปริมาตรของกรงและการจัดการพื้นที่อาจมีความสำ�คัญมากกว่า เมื่อคำ�นึงเช่นนี้ ข้อแนะนำ�อาจแตกต่างจาก กฎหมายสวัสดิภาพสัตว์ (AWRs) หรือกฎเกณฑ์อื่นๆ ความสูงของสิ่งล้อมรอบสามารถเป็นสิ่งสำ�คัญเพื่อ เอื้อให้สัตว์มีการแสดงพฤติกรรมเฉพาะและการปรับท่าทางของสัตว์ชนิดนั้นๆ ความสูงของกรงควรถูกนำ�ไป คำ�นึงถึงท่าทางเฉพาะของชนิดสัตว์นนๆ และให้ทวางรอบๆอย่างพอเพียงห่างจากโครงสร้างกรง เช่น อุปกรณ์ ั้ ี่ ่ ทีให้อาหารและน้ำ� สัตว์บางชนิดเช่น ลิง แมว และสัตว์ทอาศัยอยูตามต้นไม้ ใช้พนทีแนวตังของกรงในสัดส่วน ่ ี่ ่ ื้ ่ ้ มากกว่าพื้น สำ�หรับสัตว์เหล่านี้ ความสามารถยืนขึ้น หรือนั่งยองๆบนแผงที่นั่งด้วยพื้นที่ว่างแนวตั้งอย่าง เพียงพอให้ร่างกายสัตว์รวมทั้งหางอยู่เหนือจากพื้นสามารถปรับปรุงความเป็นอยู่ที่ดีของสัตว์ (Clarence et al. 2006; MacLean et al. 2009) การกำ�หนดพื้นที่ควรได้รับการประเมิน ทบทวนและดัดแปลงตามความจำ�เป็นโดย IACUC โดยคำ�นึง ถึงดัชนีทางสมรรถภาพต่างๆ (เช่น สุขภาพ การสืบพันธุ์ การเจริญเติบโต พฤติกรรม การเคลื่อนไหว และ การใช้พื้นที่) และความจำ�เป็นพิเศษที่กำ�หนดโดยลักษณะเฉพาะของสัตว์ตามสายพันธุ์ หรือชนิดของสัตว์ (เช่น ความอ้วน ความกระฉับกระเฉงเกินควร หรือสัตว์ตางๆทีอาศัยอยูตามต้นไม้) และการใช้เพือการทดลอง ่ ่ ่ ่ (เช่น สัตว์ทใช้ในการทดลองเป็นระยะเวลายาวนานอาจต้องจัดให้มพนทีมากและซับซ้อนกว่า) อย่างน้อยทีสด ี่ ี ื้ ่ ่ ุ สัตว์จะต้องมีพื้นที่เพียงพอเพื่อแสดงท่าทางตามธรรมชาติและการปรับท่าทางได้โดยไม่ต้องสัมผัสส่วน ผนังหรือเพดานของสิ่งล้อมรอบใดๆ สามารถหมุนตัวได้และเข้าถึงอาหารและน้ำ�ได้สะดวก นอกจากนี้จะ ต้องมีที่ว่างพอเพียงเพื่อพักผ่อนหลีกเลี่ยงจากพื้นที่ส่วนที่มีปัสสาวะและอุจจาระ พื้นที่ของพื้นซึ่งถูกใช้วาง ภาชนะใส่อาหาร ภาชนะใส่น้ำ� กล่องสำ�หรับลูกสัตว์และสิ่งของเพิ่มพูนสภาพแวดล้อม (เช่น วัตถุใหม่ๆ ของเล่น และ อุปกรณ์ให้คุ้ยหาอาหาร) ไม่ควรถือว่าเป็นส่วนใดของพื้นที่พื้น ข้อแนะนำ�พืนทีซงให้ไว้ ณ ทีนอยูบนพืนฐานการตัดสินใจโดยผูช�นาญและมีประสบการณ์ ควรพิจารณา ้ ่ ึ่ ่ ี้ ่ ้ ้ำ ว่าสิ่งเหล่านี้เป็นค่าต่ำ�สุดสำ�หรับให้สัตว์อาศัยอยู่ภายใต้สภาพต่างๆที่มักพบทั่วๆไปในอาคารสัตว์ทดลอง การปรับปริมาณและการเตรียมพืนทีดงทีแสดงในตารางควรถูกทบทวนและอนุมตโดย IACUC และควรอยูบน ้ ่ ั ่ ั ิ ่ พื้นฐานดัชนีทางสมรรถภาพที่เกี่ยวข้องกับความเป็นอยู่ที่ดีของสัตว์และคุณภาพของการวิจัยดังที่ได้บรรยาย ไว้ในย่อหน้าก่อนหน้านี้ โดยพิจารณาร่วมกับ AWRs และ PHS Policy ตลอดจนกฎข้อบังคับและมาตรฐาน อื่นๆที่เกี่ยวข้อง ข้อแนะนำ�นีไม่ตงเป้าหมายเพืออภิปรายครอบคลุมความต้องการให้จดทีอยูอาศัยของสัตว์ทกชนิดทีใช้ ้ ั้ ่ ั ่ ่ ุ ่ ในงานวิจัย สำ�หรับสัตว์ชนิดที่ไม่ถูกกล่าวถึง ควรค้นหาคำ�แนะนำ�จากการสืบค้นวารสารและจากผู้ชำ�นาญ ที่ตรงชนิดของสัตว์ สัตว์ฟันแทะ ตาราง 3.2 แสดงข้อแนะนำ�พื้นที่ขั้นต่ำ�สำ�หรับสัตว์ทดลองฟันแทะที่ใช้บ่อยซึ่งอยู่เป็นกลุ่ม ถ้า สัตว์เหล่านี้ถูกให้อยู่ตัวเดียว หรืออยู่เป็นกลุ่มขนาดเล็ก หรือมีน�หนักเกินค่าในตาราง อาจต้องจัดให้มีพื้นที่ ้ำ ต่อตัวมากกว่าขณะที่สัตว์กลุ่มใหญ่อาจจัดที่อยู่ให้มีความหนาแน่นมากกว่า

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 57 ตารางที่ 3.2 พื้นที่แนะนำ�ขั้นต่�สำ�หรับสัตว์ฟันแทะที่ใช้บ่อยซึ่งอยู่เป็นกลุ่ม* ำ น้ำ�หนัก พื้นที่ของพื้นต่อสัตว์ 1 ตัวก ความสูงข ชนิดสัตว์ (กรัม) ตารางนิ้ว (ตารางซ.ม.) ตารางนิ้ว (ตารางซ.ม.) คำ�อธิบาย หนูเมาส์ <10 6 (38.7) 5 (12.7) สัตว์ขนาดใหญ่อาจต้องจัด อยู่เป็นกลุ่มค ไม่เกิน 15 8 (51.6) 5 (12.7) พื้นที่มากกว่าเพื่อให้สอดคล้อง ไม่เกิน 25 12 (77.4) 5 (12.7) ตามมาตรฐานสมรรถภาพ > 25 ≥15 (≥96.7) 5 (12.7) แม่พันธุ์และ 51 (330) 5 (12.7) การผสมพันธุ์ในรูปแบบอื่น ลูกทั้งครอก (พื้นที่ซึ่งแนะนำ� ต้องจัดพื้นที่มากกว่าและจะขึ้น สำ�หรับให้สัตว์อยู่เป็นกลุ่ม) กับการพิจารณาต่างๆ เช่น จำ�นวนสัตว์โตเต็มวัยและ ลูกในครอก และ ขนาดอายุ ของลูกครอกเหล่านั้นง หนูแรท < 100 17 (109.6) 7 (17.8) สัตว์ขนาดใหญ่กว่าอาจต้องจัด อยู่เป็นกลุ่มค ไม่เกิน 200 23 (148.35) 7 (17.8) พื้นที่มากกว่าเพื่อสอดคล้อง ไม่เกิน300 29 (187.05) 7 (17.8) ตามมาตรฐานสมรรถภาพ ไม่เกิน 400 40 (258.0) 7 (17.8) ไม่เกิน 500 60 (387.0) 7 (17.8) > 500 ง 70 (>451.5) 7 (17.8) แม่พันธุ์และ 124 (800) 7 (17.8) การผสมพันธุ์ในรูปแบบอื่น ลูกทั้งครอก (พื้นที่ซึ่งแนะนำ�สำ�หรับให้ อาจต้องจัดพื้นที่มากกว่าและ สัตว์อยู่เป็นกลุ่ม) จะขึนกับการพิจารณาต่างๆ เช่น ้ จำ�นวนสัตว์โตเต็มวัยและลูก ในครอก และ ขนาดและอายุ ของลูกครอกเหล่านั้น หนูแฮมสเตอร์ค <60 10 (64.5) 6 (15.2) สัตว์ขนาดใหญ่กว่าอาจต้องจัด ไม่เกิน 80 13 (83.8) 6 (15.2) พื้นที่มากกว่าเพื่อสอดคล้อง ไม่เกิน 100 16 (103.2) 6 (15.2) ตามมาตรฐานสมรรถภาพ >100 >19 (>122.5) 6 (15.2) หนูตะเภา ไม่เกิน 350 60 (387.0) 7 (17.8) สัตว์ขนาดใหญ่กว่าอาจต้องจัด   > 350 >101 (>651.5) 7 (17.8) พื้นที่มากกว่าเพื่อสอดคล้อง ตามมาตรฐานสมรรถภาพ * การตีความตามตารางนี้ควรคำ�นึงถึงดัชนีทางสมรรถภาพต่างๆตามที่ได้อธิบายสาระไว้ในหน้า 54 ก สัตว์ที่ให้อยู่ตัวเดียวและอยู่เป็นกลุ่มเล็กอาจต้องจัดพื้นที่ของพื้นตามการปฏิบัติให้มากกว่าที่กำ�หนดสำ�หรับสัตว์แต่ละตัว หลายเท่า ข จากพื้นกรงไปถึงด้านบนของกรง ค ควรพิจารณาลักษณะพิเศษเฉพาะการเจริญเติบโตของเชือสายหรือสายพันธุตลอดจนเพศของสัตว์ น้�หนักทีเพิมขึนอาจรวดเร็ว ้ ์ ำ ่ ่ ้ มากพอสมควรให้สัตว์มีพื้นที่มากขึ้นตามขนาดของสัตว์ที่คาดการณ์ในอนาคต นอกจากนี้ลูกสัตว์ฟันแทะซนมากและแสดง พฤติกรรมการเล่นเพิ่มมากขึ้น ง การพิจารณาอื่นๆ อาจรวมถึง การเลือกเก็บลูกในครอกบางตัวหรือ แยกแม่และลูกสัตว์ทั้งครอกออกจากกลุ่มผสมพันธุ์ ควรจัดสรรพื้นที่อย่างเพียงพอสำ�หรับแม่และลูกสัตว์ทั้งครอกเพื่อให้ลูกอ่อนพัฒนาเติบโตถึงอายุหย่านมโดยปราศจากผลเสีย ต่อแม่หรือลูกทั้งครอก

58 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง การทดลองเมื่อเร็วๆนี้ประเมินผลความจำ�เป็นของพื้นที่และผลของการอยู่เป็นกลุ่มสังคม ขนาดของ กลุ่ม และความหนาแน่น (Andrade and Guimaraes 2003; Bartolomucci et al. 2002, 2003; Georgsson et al 2001; Gonder and Laber 2007; Perez et al. 1997; A.L. Smith et al. 2004) อายุ (Arakawa 2005; Davidson et al. 2007; Yildiz at al. 2007) และสภาวะที่อยู่อาศัย (Gordon et al. 1998; Van Loo et al. 2004) สำ�หรับสัตว์ฟันแทะหลายชนิดและสายพันธุ์ และได้รายงานผลกระทบต่างๆที่มีต่อพฤติกรรม (เช่น ความ ก้าวร้าว) และผลของการทดลอง (Karolewicz and Paul 2001; Laber et al. 2008; McGlone et al. 2001; Rock et al. 1997; Smith et al. 2005; Van Loo et al. 2001) อย่างไรก็ดี การเปรียบเทียบการศึกษาเหล่านี้ เป็นการยุ่งยากเนื่องจากการออกแบบการศึกษาและตัวแปรต่างๆของการทดลองซึ่งได้ถูกประเมิน ตัวอย่าง เช่น ตัวแปรต่างๆที่อาจกระทบการตอบสนองของสัตว์ต่อขนาดกรงและความหนาแน่นของที่อยู่ซึ่งแตกต่าง กันทีมอยูแต่ไม่จ�กัดเฉพาะชนิดของสัตว์ สายพันธุ์ (และพฤติกรรมทางสังคมของสายพันธุ)์ ลักษณะภายนอก ่ ี ่ ำ อายุ เพศ คุณภาพของพื้นที่ (เช่น การใช้พื้นที่แนวตั้ง) และโครงสร้างต่างๆที่วางไว้ในกรง ประเด็นเหล่านี้ยัง คงซับซ้อนและควรพิจารณาอย่างรอบคอบเมื่อให้ที่อยู่สัตว์ฟันแทะ สัตว์ทดลองทั่วไปชนิดอื่นๆที่ใช้บ่อย ตาราง 3.3 และ 3.4 แสดงข้อแนะนำ�การจัดสรรพื้นที่ขั้นต่ำ�สำ�หรับสัตว์ ทดลองทั่วไปชนิดอื่นๆที่ใช้บ่อยและสัตว์ปีก โดยทั่วไปการจัดสรรพื้นที่เหล่านี้อยู่บนพื้นฐานความจำ�เป็นของ สัตว์ต่างๆที่อยู่เป็นกลุ่ม การจัดสรรพื้นที่ควรถูกประเมินอีกครั้งเพื่อให้การเพิ่มพูนหรือจัดให้สัตว์อยู่สบายซึ่ง มากกว่าน้ำ�หนักในตาราง และควรอยู่บนพื้นฐานชนิดสัตว์ จำ�นวนของสัตว์และเป้าหมายของสถานะการให้ อยู่อาศัย (Held et al. 1995; Lupo et al. 2000; Raje 1997; Turner et al. 1997) สัตว์ขังอยู่ตัวเดียวอาจต้อง จัดให้มพนทีตอตัวมากกว่าทีแนะนำ�ให้ส�หรับสัตว์ทให้อยูรวมกลุม ขณะทีกลุมขนาดใหญ่กว่าอาจให้อาศัยใน ี ื้ ่ ่ ่ ำ ี่ ่ ่ ่ ่ ความหนาแน่นมากกว่า สำ�หรับสุนขและแมว และกระต่ายบางชนิด การให้อยูอาศัยในสิงล้อมรอบซึงให้อสระ ั ่ ่ ่ ิ ในการเคลือนไหวและจำ�กัดพืนทีแนวตังน้อยกว่าเป็นตัวเลือกทีชอบมากกว่า (เช่น คอก ลูวงหรือซองแทนกรง) ่ ้ ่ ้ ่ ่ ิ่ โดยเฉพาะอย่างยิงเมือให้สนขและแมวอยูตวเดียวหรืออยูในสิงล้อมรอบขนาดเล็กกว่า (Bayne 2002) ควรเปิด ่ ่ ุ ั ่ ั ่ ่ โอกาสให้ออกกำ�ลังกายและให้มีปฏิสัมพันธ์ด้านบวกกับมนุษย์ ควรกำ�หนดแผนเฉพาะสำ�หรับชนิดของสัตว์ เพื่อที่อยู่และการจัดการ แผนเหล่านั้นควรรวมถึงกลยุทธ์สำ�หรับการเพิ่มพูนสภาพแวดล้อม สัตว์จำ�พวกลิง ตาราง 3.5 แสดงข้อแนะนำ�พื้นที่ขั้นต่ำ�สำ�หรับสัตว์จำ�พวกลิงบนพื้นฐานความจำ�เป็นในการ เลี้ยงสัตว์เป็นคู่หรือเป็นกลุ่ม เช่นเดียวกันกับสัตว์สังคมต่างๆ ตามปกติสัตว์จำ�พวกลิงควรให้ที่อยู่เป็นสังคม (Hotch kiss and paule 2003; NRC 1998a; Weed nad Watson 1998; Wolfensohn 2004)

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 59 ตารางที่ 3.3 พื้นที่แนะนำ�ขั้นต่�สำ�หรับกระต่าย แมว และ สุนัขซึ่งอยู่เป็นคู่หรืออยู่เป็นกลุ่ม* ำ น้ำ�หนักก พื้นที่พื้นต่อสัตว์ 1 ตัวข ความสูงค ชนิดสัตว์ (กิโลกรัม) ตารางฟุต (ตารางเมตร) นิ้ว (ซ.ม.) คำ�อธิบาย กระต่าย <2 1.5 (0.14) 16 (40.5) กระต่ายขนาดใหญ่กว่าอาจต้อง ไม่เกิน 4 3.0 (0.28) 16 (40.5) จัดให้มีความสูงกรงเพิ่มขึ้น ไม่เกิน 5.4 4.0 (0.37) 16 (40.5) เพื่อให้สัตว์นั่งตัวตรงได้ >5.4ค >5.0 (>0.46) 16 (40.5) แมว <4 3.0 (0.28) 24 (60.8) ชอบที่ ว่ า งตามแนวตั้ ง และมี >4ง >4.0 (>0.37) 24 (60.8) แผงที่นั่งมากกว่าและอาจต้อง จัดให้มีความสูงของกรงเพิ่มขึ้น สุนัข ฉ <15 8.0 (0.74) −จ ควรมีความสูงของกรงพอเพียง ไม่เกิน 30 12.0 (1.2) −จ สำ�หรับให้สัตว์ยืนตัวตรง >30ง >24.0 (>2.4) −จ โดยวางตีนบนพื้น *การตีความตามตารางนี้ควรคำ�นึงถึงดัชนีทางสมรรถภาพต่างๆตามที่ได้อธิบายสาระไว้ในหน้า 55 ก เพื่อเปลี่ยนกิโลกรัมเป็นปอนด์ คูณด้วย 2.2 ข สัตว์ที่ให้อยู่ตัวเดียวและอยู่เป็นกลุ่มเล็กอาจต้องจัดพื้นที่ของพื้นให้มากกว่าทีแนะนำ�สำ�หรับสัตว์ซึ่งอยู่เป็นคู่หรืออยูเป็นกลุ่ม ่ ่ ค จากพื้นกรงไปถึงด้านบนของกรง ง สัตว์ขนาดใหญ่กว่า อาจต้องการพื้นที่มากกว่า เพื่อบรรลุมาตรฐานทางสมรรถภาพ (ดูบทบรรยาย) จ ขอแนะน�เหลานอาจตองการ การดดแปลงแกไขขนอยกบโครงสรางรางกาย และพนธของสตวแตละตว สนขบางตวโดยเฉพาะ ้ ำ ่ ี้ ้ ั ้ ึ้ ู่ ั ้ ่ ั ุ์ ั ์ ่ ั ุ ั ั ตัวทีมน�หนักใกล้น�หนักสูงสุดของแต่ละช่วง อาจต้องการจัดมีพนทีเพิมเติมเพือให้แน่ใจว่าสอดคล้องกับข้อบังคับของกฎหมาย ่ ี ้ำ ้ำ ื้ ่ ่ ่ สวสดภาพสตว์ ขอบงคบเหลานี้ (USDA 1985) ก�หนดใหมความสงของกรงพอเพยงเพอใหสตวทอยยนขนดวย “ทาทางสบาย” ั ิ ั ้ ั ั ่ ำ ้ ี ู ี ื่ ้ ั ์ ี่ ู่ ื ึ้ ้ ่ ได้ และใหมพนทของพนขนต�เทากบ “คาทางคณตศาสตรยกก�ลงสองของผลรวมของความยาวของสนขเปนนว (วดจากปลาย ้ ี ื้ ี่ ื้ ั้ ่ำ ่ ั ่ ิ ์ ำ ั ุ ั ็ ิ้ ั จมูกถึงโคนหางของมัน) รวมกับ 6 นิ้ว แล้วนำ�ค่าที่คำ�นวณได้มาหารด้วย 144” ฉ ชอบสิ่งล้อมรอบซึ่งยอมให้มีอิสระในการเคลื่อนไหวมากกว่าและไม่จ�กัดความสูง (เช่น ซอง ลู่วิ่ง หรือ คอก) มากกว่า ำ ส่วนประกอบของกลุ่มเป็นสิ่งที่จำ�เป็นและมีปัจจัยโดยเฉพาะต่อชนิดของสัตว์ ได้แก่ อายุ รายการพฤติกรรม เพศ การจัดตั้งสังคมตามธรรมชาติ ความต้องการต่างๆสำ�หรับการสืบพันธุ์และภาวะทางสุขภาพ เมื่อจัดตั้ง กลุ่มควรคำ�นึงถึงสิ่งเหล่านี้ นอกจากนี้ เนื่องจากความแตกต่างทางโครงสร้างร่างกายของสัตว์ภายในกลุ่ม อาจต้องจัดให้มเนือทีหรือความสูงมากกว่าเพือสอดคล้องกับความจำ�เป็นทางกายภาพและพฤติกรรมของสัตว์ ี ้ ่ ่ ดังนั้นการกำ�หนดขนาดกรงอย่างเหมาะสมไม่ได้ท�ตามน้ำ�หนักเท่านั้น และการตัดสินใจโดยผู้เชี่ยวชาญเป็น ำ สิ่งสำ�คัญยิ่งในการตัดสินใจต่างๆนั้น (Kaufman et al. 2004; Williams et al. 2000)

60 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง ตารางที่ 3.4 พื้นที่แนะนำ�ขั้นต่�สำ�หรับนกซึ่งอยู่เป็นคู่หรืออยู่เป็นกลุ่ม* ำ น้�หนัก ก ำ พื้นที่พื้นต่อสัตว์ 1 ตัวข สัตว์ (กิโลกรัม) ตารางฟุต (ตารางเมตร) ความสูง นกพิราบ _ 0.8 (0.07) ควรมีความสูงของกรงพอเพียง นกกระทา _ 0.25 (0.023) สำ�หรับให้สัตว์ยืนตัวตรง ไก่ < 0.25 0.50 (0.046) โดยวางตีนบนพื้น ไม่เกิน 0.5 0.25 (0.023) ไม่เกิน 1.5 1.00 (0.093) ไม่เกิน 3.0 2.00 (0.186) >3.0ค >3.00 (>0.279) *การตีความตามตารางนี้ควรคำ�นึงถึงดัชนีทางสมรรถภาพต่างๆตามที่ได้อธิบายสาระไว้ในหน้า 55 ก เพื่อเปลี่ยนกิโลกรัมเป็นปอนด์ คูณด้วย 2.2 ข นกที่ให้อยู่ตัวเดียวอาจต้องจัดพื้นที่ของพื้นให้มากกว่าที่แนะนำ�สำ�หรับนกซึ่งอยู่เป็นคู่หรืออยู่เป็นกลุ่ม ค สัตว์ขนาดใหญ่กว่า อาจต้องการพื้นที่มากกว่า เพื่อบรรลุมาตรฐานทางสมรรถภาพ (ดูบทบรรยาย) ถ้าจำ�เป็นต้องให้สัตว์อาศัยอยู่ตัวเดียว ตัวอย่างเช่นเมื่อมีเหตุผลสมควรเพื่อวัตถุประสงค์การทดลอง เพื่อการให้การดูแลทางการสัตวแพทย์ หรือเพื่อสัตว์ที่เข้ากับตัวอื่นไม่ได้ ภาวะที่ถูกจัดเช่นนี้ควรมีระยะเวลา สั้นที่สุดเท่าที่ทำ�ได้ ถ้าสัตว์ตัวหนึ่งอาศัยอยู่ในสิ่งล้อมรอบขนาดเล็ก ควรคำ�นึงถึงโอกาสเพื่อปล่อยสัตว์ เป็นครั้งคราวไปยังสิ่งล้อมรอบขนาดใหญ่กว่าที่มีสิ่งเพิ่มพูนสภาพแวดล้อมเพิ่มเติมมากขึ้น โดยเฉพาะ อย่างยิ่งสำ�หรับสัตว์ที่ถูกขังเดี่ยวเป็นระยะเวลายาวนาน สัตว์ที่ให้อยู่ตัวเดียวอาจต้องจัดให้มีพื้นที่มากกว่าที่ แนะนำ�สำ�หรับสัตว์ซึ่งอยู่เป็นคู่หรืออยู่เป็นกลุ่ม ขณะที่กลุ่มขนาดใหญ่กว่าอาจให้อยู่ในที่มีความหนาแน่น มากกว่าเล็กน้อย เพราะว่าลักษณะเฉพาะทางกายภาพและพฤติกรรมหลายอย่างของสัตว์จำ�พวกลิง และ มีปัจจัยให้พิจารณาหลายอย่างเมื่อมีการใช้สัตว์เหล่านี้ในการวิจัยทางชีวการแพทย์ จึงควรกำ�หนดแผนโดย เฉพาะกับชนิดของสัตว์ส�หรับทีอยูและการจัดการ แผนดังกล่าวควรรวมถึงกลยุทธ์เพือการเพิมพูนทางสภาพ ำ ่ ่ ่ ่ แวดล้อมและจิตใจ ปศุสัตว์ ตาราง 3.6 แสดงการจัดสรรพื้นที่ขั้นต่ำ�ที่แนะนำ�สำ�หรับปศุสัตว์ที่มักใช้ทั่วไปในสภาพห้องปฏิบัติการ เมือสำ�หรับสัตว์สงคมควรให้อยูเป็นคูหรือกลุมขนาดใหญ่ซงเข้ากันได้ ต้องจัดให้มเนือทีมากกว่าเมือมีน�หนัก ่ ั ่ ่ ่ ึ่ ี ้ ่ ่ ้ำ ตัวมากเกินน้ำ�หนักในตารางสำ�หรับสัตว์ขนาดใหญ่ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งสุกร) โครงสร้างโดยรอบพื้นที่ซึ่งยอม ให้สัตว์หมุนตัวและเคลื่อนไหวได้อย่างอิสระเป็นสิ่งสำ�คัญ (Becker et al. 1989; Bracke at al. 2002) ควรให้ มีจำ�นวนรางอาหารและอุปกรณ์ให้น�อย่างพอเพียงเพื่อให้สัตว์ทุกตัวเข้าถึงได้ สัตว์ถูกขังเดี่ยวอาจต้องจัดให้ ้ำ มีพื้นที่มากกว่าที่แนะนำ�ในตาราง

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 61 ตารางที่ 3.5 พื้นที่แนะนำ�ขั้นต่�สำ�หรับลิงซึ่งอยู่เป็นคู่หรืออยู่เป็นกลุ่ม* ำ น้ำ�หนักก พื้นที่พื้นต่อสัตว์ 1 ตัวข ชนิดสัตว์ (กิโลกรัม) ตารางฟุต (ตารางเมตร) ความสูงค ำ�อธิบาย ค ลิงง (รวมทั้งลิงบาบูน) ควรมีความสูงกรงอย่างพอ กลุ่ม 1 ไม่เกิน 1.5 2.1 (0.20) 30 (76.2) เพียงสำ�หรับให้สัตว์ยืนตัวตรง กลุ่ม 2 ไม่เกิน 3 3.0 (0.28) 30 (76.2) โดยวางตีนบนพื้นอย่างสบาย กลุ่ม 3 ไม่เกิน 10 4.3 (0.4) 30 (76.2) ค่างห้าสี และ ลิงชนิด ลิงบาบูน กลุ่ม 4 ไม่เกิน 15 6.0 (0.56) 32 (81.3) อื่นๆที่มีขายาวกว่าอาจต้องจัด กลุ่ม 5 ไม่เกิน 20 8.0 (0.74) 36 (91.4) งมากกว่าลิงชนิด ให้มีความสู กลุ่ม 6 ไม่เกิน 25 10 (0.93) 46 (116.8) อื่นๆ ควรคำ�นึงถึงปริมาตร กลุ่ม 7 ไม่เกิน 30 15 (1.40) 46 (116.8) กรงทั้งหมดและแผงที่นั่งในแนว กลุ่ม 8 >30จ >2.5 (>2.32) 60 (152.4) ตรงสำ�หรับลิงโลกใหม่และลิง ชนิดที่อาศัยอยู่บนต้นไม้ สำ�หรับลิงชนิดที่เคลื่อนที่โดย การเหวี่ยงแขนจับกิ่งไม้สลับ แขนกัน กรงควรสูงมากพอที่ สัตว์สามารถยืดตัวได้สุด โหน ตัวจากเพดานกรงได้โดยที่ตีน ของมันไม่สัมผัสพื้น การ ออกแบบกรงควรเอื้อต่อการ เคลื่อนไหวด้วยแขน ลิงชิมแปนซี ความสูงของกรงสำ�หรับ (Pan) ลิงไม่มีหางและลิงที่เคลื่อนที่ สัตว์อายุน้อย ไม่เกิน 10 15 (1.4) 60 (152.4) โดยการเหวี่ยงแขนจับกิ่งไม้ สัตว์โตเต็มวัยฉ > 10 >25 (>2.32) 84 (213.4) อื่นๆ ควรมีมากพอที่สัตว์ สามารถยืดตัวได้สุด โหนตัว จากเพดานกรงได้โดยที่ตีน ของมันไม่สัมผัสพื้นการ ออกแบบกรงควรเอื้อ ต่อการเคลื่อนไหวด้วยแขน *การตีความตามตารางนี้ควรคำ�นึงถึงดัชนีทางสมรรถภาพต่างๆตามที่ได้อธิบายสาระไว้ในหน้า 55 ก เพื่อเปลี่ยนกิโลกรัมเป็นปอนด์ คูณด้วย 2.2 ข ลิงที่ให้อยู่ตัวเดียวอาจต้องจัดพื้นที่ปริมาณมากกว่าปริมาณที่จัดสรรให้สัตว์แต่ละตัวซึ่งอยู่เป็นกลุ่ม ค จากพื้นกรงไปถึงด้านบนของกรง ง พวก Callitrichidae, Cebidae, Cercopithecidae และ Papio จ สัตว์ขนาดใหญ่กว่าอาจต้องการพื้นที่มากกว่า เพื่อบรรลุมาตรฐานทางสมรรถภาพ (ดูบทบรรยาย) ฉ ลิงขนาดใหญ่ไม่มีหางที่มีน้ำ�หนักมากกว่า 50 กิโลกรัม การให้อาศัยอยู่ในที่อยู่ถาวรชนิดก่ออิฐถือปูน คอนกรีตและแผงโครงลวด มีได้ผลดีมากกว่ากรงขังที่ใช้กันทั่วไป

62 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง ตาราง 3.6 พื้นที่แนะนำ�ขั้นต่ำ�สำ�หรับปศุสัตว์* ชนิดสัตว์/คอก น้ำ�หนัก พื้นที่พื้นต่อสัตว์ 1 ตัวข (กิโลกรัม) ก ตารางฟุต (ตารางเมตร) แกะ และ แพะ 1 ตัว < 25 10 (0.9) ไม่เกิน 50 15 (1.35) > 50 ค >20 (>1.8) 2-5 ตัว < 25 8.5 (0.76) ไม่เกิน 50 12.5 (1.12) > 50 ค >17 (>1.53) > 5 ตัว < 25 7.5 (0.67) ไม่เกิน 50 11.3 (1.02) > 50 ค >15 (>1.35) สุกร 1 ตัว < 15 8 (0.72) ไม่เกิน 25 12 (1.08) ไม่เกิน 50 15 (1.35) ไม่เกิน 100 24 (2.16) ไม่เกิน 200 48 (4.32) > 200 ค > 60.0 (>5.4) 2−5 ตัว < 25 6 (0.54) ไม่เกิน 50 10 (0.9) ไม่เกิน 100 20 (1.8) ไม่เกิน 200 40 (3.6) > 200 ค > 52.0 (>4.68) > 5 ตัว < 25 6 (0.54) ไม่เกิน 50 9 (0.81) ไม่เกิน 100 18 (1.62) ไม่เกิน 200 36 (3.24)   > 200 ค > 48.0 (>4.32) โค 1 ตัว < 75 24 (2.16) ไม่เกิน 200 48 (4.32) ไม่เกิน 350 72 (6.48) ไม่เกิน 500 96 (8.64) ไม่เกิน 650 124 (11.16) > 650 ค > 144.0 (>12.96) 2−5 ตัว < 75 20 (1.8) ไม่เกิน 200 40 (3.6) ไม่เกิน 350 60 (5.4) ไม่เกิน 500 80 (7.2) ไม่เกิน 650 105 (9.45) > 650 ค > 120.0 (>10.8)

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 63 ชนิดสัตว์/คอก น้�หนัก ำ พื้นที่พื้นต่อสัตว์ 1 ตัวข (กิโลกรัม) ก ตารางฟุต (ตารางเมตร) > 5 < 75 18 (1.62) ไม่เกิน 200 36 (3.24) ไม่เกิน 350 54 (4.86) ไม่เกิน 500 72 (6.48) ไม่เกิน 650 93 (8.37) > 650 ค > 108.0 (>9.72) ม้า − 144 (12.96) ลูกม้า 1−4 ตัว − 72 (6.48) > 4 ตัวต่อคอก < 200 60 (5.4)   > 200 ค > 72.0 (>6.48) *การตีความตามตารางนี้ควรคำ�นึงถึงดัชนีทางสมรรถภาพต่างๆตามที่ได้อธิบายสาระไว้ในหน้า 55 ก เพื่อเปลี่ยนกิโลกรัมเป็นปอนด์ คูณด้วย 2.2 ข โครงสร้างโดยรอบพืนควรให้สตว์สามารถหมุนตัวและเคลือนไหวได้อย่างอิสระโดยตัวสัตว์ไม่แตะถูกรางอาหารและน้� สามารถ ้ ั ่ ำ เข้าถึงอาหารและน้ำ� และมีพื้นที่ว่างมากพอเพียงเพื่อสัตว์ได้พักผ่อนห่างไกลจากบริเวณสกปรกที่มีปัสสาวะและอุจจาระ (ดูบทบรรยาย) ค สัตว์ขนาดใหญ่กว่าต้องการพื้นที่มากกว่าเพื่อบรรลุมาตรฐานทางสมรรถภาพ รวมทั้งสามารถหมุนตัวและเคลื่อนไหวได้ อย่างอิสระ(ดูบทบรรยาย) แนะนำ�ในตารางเพือทำ�ให้สามารถกลับตัวได้สะดวกและเคลือนไหวได้ได้อสระโดยตัวสัตว์ไม่แตะถูกรางอาหาร ่ ่ ิ และน้ำ� และมีพื้นที่ว่างมากพอเพียงเพื่อสัตว์ได้พักผ่อนห่างไกลจากบริเวณสกปรกที่มีปัสสาวะและอุจจาระ การจัดการสัตว์บก การจัดการด้านพฤติกรรมและการให้อยู่ร่วมกันเป็นสังคม กิจกรรม กิจกรรมต้นแบบของสัตว์หมายถึงกิจกรรมเกียวกับการเคลือนไหวของกล้ามเนือ แต่ยงมีกจกรรมการ ่ ่ ้ ั ิ รับรู้และการแสดงออกทางสังคม ควรคำ�นึงถึงพฤติกรรมของสัตว์ตามธรรมชาติและรูปแบบของกิจกรรมเมื่อ ประเมินที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมหรือการประเมินพฤติกรรม สัตว์ต่างๆที่อยู่ในสภาพแวดล้อมห้องปฏิบัติการมักถูกจำ�กัดกิจกรรมเมื่อเปรียบเทียบกับสัตว์ที่เลี้ยง ปล่อยอิสระ ควรหลีกเลี่ยงการบังคับสัตว์ให้เคลื่อนไหวนอกเหนือจากความพยายามเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ ด้านการบำ�บัดรักษาหรือโปรโตคอลที่ได้รับการอนุมัติแล้ว การเคลื่อนไหวร่างกายที่ทำ�อย่างเดิมซ้�ๆ หลาย ำ ครั้ง พฤติกรรมที่ไม่เปลี่ยน (การทำ�ท่าเดิมตลอด พฤติกรรมภาวะถูกบังคับต่างๆ) อาจสะท้อนให้เห็นภาวะ ความแตกแยกของกลไกการควบคุมพฤติกรรมตามปกติทเกียวข้องกับภาวะทีอยูอาศัยหรือการปฏิบตดานการ ี่ ่ ่ ่ ั ิ ้ จัดการ (Garner 2005; NRC 1998a)

64 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง สุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงอื่นๆหลายชนิดได้รับประโยชน์จากการมีปฏิสัมพันธ์ในทางบวกกับมนุษย์ (Augustsson et al. 2002; Bayne et al 1993; McCune 1997; Poole 1998; Rennie and Buchanan-Smith 2006; Rollin 1990) สามารถให้สุนัขมีโอกาสเคลื่อนไหวโดยการจูงเดินด้วยสายจูง ให้มีลู่วิ่ง หรือเคลื่อนย้าย ไปอยู่บริเวณอื่นเพื่อการมีสังคม ได้เล่น หรือได้สำ�รวจ (Wolff and Rupert 1991) บริเวณสำ�หรับเดินเล่น แปลง สำ�หรับออกกำ�ลังกาย และสนามหญ้าเป็นสิ่งที่เหมาะสมสำ�หรับปศุสัตว์ขนาดใหญ่ เช่น แกะ ม้า และโค สภาพแวดล้อมทางสังคม การมีปฏิกรยาทางสังคมอย่างเหมาะสมระหว่างสมาชิกต่างๆของสัตว์ชนิดเดียวกัน ิิ (conspecifics) เป็นสิ่งจำ�เป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาตามปกติและความเป็นอยู่ที่ดี(Bayne et al. 1995; Hall 1998; Novak et al. 2006) เมื่อมีการคัดเลือกสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เหมาะสม ควรใส่ใจว่าสัตว์เหล่านั้น เป็นสัตว์มการครองดินแดนของตนหรืออยูดวยกันเป็นกลุมตามธรรมชาติหรือไม่ และควรให้สตว์เหล่านันอาศัย ี ่ ้ ่ ั ้ อยู่ตัวเดียว เป็นคู่ หรือเป็นกลุ่มหรือไม่ ความเข้าใจพฤติกรรมเฉพาะของสัตว์ตามธรรมชาติทางสังคม (เช่น ส่วนประกอบทางสังคมตามธรรมชาติ ความหนาแน่นของประชากร ความสามารถในการกระจาย ความคุ้นเคยกันและอันดับชั้นทางสังคม) เป็นกุญแจสู่การจัดที่อยู่ทางสังคมอย่างประสบความสำ�เร็จ ไม่จำ�เป็นที่สมาชิกทุกตัวของสัตว์ที่อยู่แบบสังคมจำ�เป็นต้องเข้ากันได้เป็นอย่างดีเสมอไป การนำ� สัตว์ที่เข้ากันไม่ได้มาอยู่ร่วมกันแบบสังคมสามารถทำ�ให้เกิดความเครียดอย่างเรื้อรัง การบาดเจ็บ และอาจ ถึงแก่ชีวิต ในสัตว์บางชนิดการเข้ากันไม่ได้ทางสังคมอาจเป็นความโน้มเอียงทางเพศ เช่น โดยทั่วไปหนูเมาส์ ตัวผูมแนวโน้มก้าวร้าวมากกว่าหนูเมาส์ตวเมีย และโดยทัวไปหนูแฮมสเตอร์ตวเมียมักก้าวร้าวมากกว่าหนูแฮม ้ ี ั ่ ั สเตอร์ตวผู้ ความเสียงของการเข้ากันไม่ได้ทางสังคมถูกลดลงอย่างมากได้ถาสัตว์ถกนำ�มาอยูรวมกลุมกันตังแต่ ั ่ ้ ู ่ ่ ้ อายุยังน้อย ถ้ากลุ่มยังคงมีส่วนประกอบคงเดิม และถ้าการออกแบบสิ่งล้อมรอบสำ�หรับสัตว์และการเพิ่มพูน สภาพแวดล้อมทำ�ให้สัตว์หลีกหนีความขัดแย้งทางสังคมได้สะดวก ควรสอดส่องความมั่นคงทางสังคมอย่าง ระมัดระวัง ในกรณีต่างๆที่มีความก้าวร้าวอย่างรุนแรงหรือยาวนานจำ�เป็นต้องแยกสัตว์ที่ขัดแย้งออกจากกัน สำ�หรับสัตว์บางชนิด การพัฒนาทางกลุ่มสังคมแบบมีลำ�ดับชั้นที่มั่นคงจะนำ�มาซึ่งปฏิกิริยาตอบสนอง แบบไม่เป็นมิตรระหว่างสมาชิกของคู่หรือของกลุ่ม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเมื่อสัตว์นำ�เข้ามาเป็นสัตว์โต เต็มวัย อาจจะต้องมีการสร้างความคุ้นเคยต่อกันเป็นระยะเวลานาน และควรสอดส่องดูแลอย่างใกล้ชิด ระหว่างช่วงเวลาปรับตัวและต่อมาภายหลังเพื่อให้มั่นใจว่าเข้ากันได้ การให้สัตว์สังคมอาศัยอยู่ตัวเดียวควรเป็นการยกเว้นและได้มีการให้เหตุผลตามความต้องการต่างๆ ของการทดลอง หรือประเด็นต่างๆทางสัตวแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับความเป็นอยู่ที่ดีของสัตว์ ในกรณีเหล่านี้ ควรจำ�กัดระยะ เวลาให้น้อยที่สุดเท่าที่จำ�เป็นและเมื่อเป็นไปได้ควรให้ได้เห็น ได้ยิน ได้กลิ่น และได้สัมผัสกับ สัตว์ชนิดเดียวกันทีเข้ากันได้ ถ้าไม่มสตว์ตวอืนๆ ควรให้มสงเพิมพูน ได้แก่ การตอบสนองด้านบวกกับพนักงาน ่ ีั ั ่ ี ิ่ ่ ดูแลสัตว์และมีวตถุสงเพิมพูนต่างๆเพิมให้อก หรือการเพิมสัตว์ทเป็นเพือนหนึงตัวในห้องหรือบริเวณทีอาศัย ั ิ่ ่ ่ ี ่ ี่ ่ ่ ่ อยู่นั้น ความจำ�เป็นต้องให้อยู่ตัวเดียวควรถูกทบทวนโดย IACUC และสัตวแพทย์เป็นประจำ� ขันตอนการทำ�ให้คนเคยและการฝึกสัตว์ เมือใดทีท�ได้ควรสนับสนุนให้มการทำ�ให้สตว์คนเคยกับวิธการปฏิบติ ้ ุ้ ่ ่ ำ ี ั ุ้ ี ั ประจำ�ต่างๆ ทางสัตวบาลและของการทดลอง เพราะอาจช่วยเหลือสัตว์ให้รบสภาพการถูกกักขังได้ดีกว่าโดย ั การลดความเครียดที่เกี่ยวข้องกับวิธีปฏิบัติหรือบุคคลใหม่ๆ รูปแบบและระยะเวลาการทำ�ให้สัตว์คุ้นเคย

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 65 ที่จำ�เป็นจะถูกกำ�หนดโดยความซับซ้อนของวิธีการ โดยส่วนใหญ่อาจทำ�หลักการต่างๆ ของการปรับสภาพ ระหว่างระยะการฝึกสัตว์ มีการใช้การปรับวิถีทางพฤติกรรมแบบก้าวหน้าเพื่อเหนี่ยวนำ�ให้เกิดการร่วมมือ กับการปฏิบัติโดยสมัครใจ (Bloomsmith et al. 1998; Laule et al. 2003; NRC 2006a; Reinhardt 1997) การสัตวบาล อาหาร สัตว์ควรได้กินอาหารที่น่ากิน ไม่ปนเปื้อนสิ่งสกปรก ซึ่งตอบสนองความจำ�เป็นทางโภชนาการและ พฤติกรรมอย่างพอเพียงอย่างน้อยทุกๆวัน หรือสอดคล้องกับความต้องการเฉพาะของสัตว์เหล่านั้น ยกเว้น ถ้าโปรโตคอลที่สัตว์ถูกใช้ต้องการอย่างอื่น อนุกรรมการของคณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติเพื่อโภชนาการ ของสัตว์ได้จดเตรียมรายงานต่างๆสำ�หรับความต้องการโภชนาการของสัตว์ทดลอง (NRC 1977, 1982, 1993, ั 1994, 1995a, 1998b, 2000, 2001, 2003a, 2006b,c, 2007) เนื้อหาในสิ่งพิมพ์เหล่านี้พิจารณาประเด็น ต่างๆเรื่องการประกันคุณภาพ การปราศจากสารเคมี หรือ สิ่งปนเปื้อนพวกจุลชีพและสิ่งปนเปื้อนทาง เคมีหรือจุลชีพ และสารพิษจากธรรมชาติในวัตถุดิบอาหาร การคงอยู่ทางชีวภาพของสารอาหารในอาหาร และความน่ากิน มีอาหารอยูหลายรูปแบบจำ�แนกประเภทโดยลำ�ดับขันความประณีตขององค์ประกอบทังหลาย อาหาร ่ ้ ้ ที่มีวัตถุดิบมาจากธรรมชาติ (natural-ingredient diets) ถูกกำ�หนดสูตรด้วยผลิตผลทางการเกษตรและผลิตผล พลอยได้ตางๆ และมีขายทางการค้าสำ�หรับสัตว์ทกชนิดทีมกใช้ทวไปในห้องปฏิบตการ ถึงแม้วาส่วนประกอบ ่ ุ ่ ั ั่ ั ิ ่ ทางโภชนะของส่วนผสมต่างๆนั้นมีการผันแปรและส่วนผสมต่างๆจากธรรมชาติไม่ใช่ปัจจัยสำ�คัญในกรณีนี้ โดยส่วนใหญ่ (Ames et al. 1993; Knapka 1983; Newberne 1975; NRC 1996; Thigpen et al. 1999; 2004) สิ่งปนเปื้อนต่างๆ ได้แก่ สารตกค้างพวกยาฆ่าแมลง โลหะหนัก สารพิษ สารก่อมะเร็ง และ สารอีสโตรเจน จากพืชต่างๆ อาจมีอยู่ในระดับที่ชักนำ�ให้เกิดผลต่อสุขภาพเล็กน้อยหรือยังไม่เคยเกิดขึ้นเลย อาจมีผล กระทบอย่างไม่เป็นที่ทราบกันต่างๆต่อผลการทดลอง (Thigpen et al. 2004) อาหารที่ได้รับการรับรอง (certified diets) ได้รับการตรวจวัดค่าเพื่อหาสิ่งปนเปื้อนต่างๆ มีขายเป็นการค้าสำ�หรับใช้ในการทดสอบ ทีเลือกสรร ได้แก่ การทดสอบพิษวิทยาก่อนการทำ�ในคลินกซึงทำ�โดยสอดคล้องกับมาตรฐานการปฏิบตอย่าง ่ ิ ่ ั ิ ดีในห้องปฏิบัติการของ FDA (CFR 2009) อาหารบริสุทธิ์ (purified diet) มีความพิถีพิถันในส่วนผสมแต่ละ อย่างทีประกอบเป็นสารอาหารอย่างหนึงหรือหนึงกลุม อาหารเหล่านีมความผันแปรของความเข้มข้นของสาร ่ ่ ่ ่ ้ ี อาหารน้อยกว่าและมีโอกาสปนเปื้อนสารเคมีต่ำ�กว่า อาหารที่กำ�หนดส่วนประกอบทางเคมี (chemically defined diets) ประกอบด้วยส่วนประกอบพื้นฐานต่างๆโดยส่วนใหญ่ เช่น กรดอมิโนต่างๆแต่ละชนิดและ น้�ตาลต่างๆโดยเฉพาะเจาะจง (NRC 1996) อาหารทีกล่าวตอนท้ายทังสองประเภทมักถูกใช้ส�หรับการศึกษา ำ ่ ้ ำ เฉพาะแบบต่างๆในสัตว์ฟันแทะ แต่มักไม่ค่อยใช้เพราะราคาแพง ไม่น่ากิน และมีอายุการเก็บรักษาลดลง ผู้จัดการโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ควรมีวิจารณญาณในการซื้อ การขนส่ง การเก็บและการจัดจ่ายอาหารเพื่อ ลดการนำ�โรค พยาธิ พาหะนำ�เชื้อที่อาจมีอยู่ (เช่น แมลง และตัวก่อความรำ�คาญอื่นๆ) และสารปนเปื้อนทาง เคมีไปสู่ฝูงสัตว์ ควรสนับสนุนผู้จัดซื้อให้พิจารณาขั้นตอนการดำ �เนินการและวิธีปฏิบัติของผู้ผลิตและผู้จัด จำ�หน่าย (เช่น การเก็บ การควบคุมตัวก่อความรำ�คาญและการจัดจ่าย) เพื่อปกป้องและประกันคุณภาพของ อาหาร สถาบันควรผลักดันผูขายให้จดเตรียมข้อมูลการวิเคราะห์อาหารจากห้องปฏิบตการสำ�หรับสารอาหาร ้ ั ั ิ

66 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง ชนิดที่มีความจำ�เป็นให้เป็นระยะๆ ผู้ใช้อาหารควรรู้วันที่ผลิตและปัจจัยอื่นๆที่มีผลต่ออายุการเก็บรักษาของ อาหาร อาหารค้างคืนหรืออาหารทีถกขนส่งและถูกเก็บอย่างไม่เหมาะสม สามารถกลายเป็นอาหารทีขาดสาร ู่ ่ อาหารต่างๆ ขณะการตรวจรับอาหารควรตรวจดูเพือให้แน่ใจว่าอยูในสภาพดีและไม่ปนเปือนเพือช่วยให้แน่ใจ ่ ่ ้ ่ ว่าสิ่งที่บรรจุอยู่ภายในไม่ได้มีโอกาสถูกคุกคามโดยตัวก่อความรำ�คาญ การซึมผ่านของของเหลว หรือถูก ปนเปือน ควรเอาใจใส่อย่างระมัดระวังต่อจำ�นวนของอาหารทีได้รบในการขนส่งแต่ละครัง และควรหมุนเวียน ้ ่ ั ้ ปริมาณในคลังโดยใช้อาหารที่มีอยู่เดิมก่อน ควรดู แ ลบริ เวณเตรี ย มหรื อ เก็ บ อาหารและส่ ว นประกอบต่ า งๆของอาหารให้ ส ะอาดและมิ ด ชิ ด เพือป้องกันสัตว์พวกก่อความรำ�คาญเข้ามารบกวน อาหารควรถูกเก็บห่างจากพืน บนแท่นรอง หิงหรือรถเข็น ่ ้ ้ ด้วยวิธีที่เอื้อต่อการสุขาภิบาล ควรเก็บถุงอาหารเปิดแล้วไว้ในภาชนะที่ป้องกันสัตว์ก่อความรำ�คาญเพื่อ ลดการปนเปือนให้เหลือน้อยทีสด และหลีกเลียงการแพร่ของเชือโรคซึงอาจมีอยู่ การมีอณหภูมหองเก็บอาหาร ้ ุ่ ่ ้ ่ ุ ิ ้ เพิ่มสูงขึ้น ความชื้นสัมพัทธ์สูงเกินไป สภาวะที่ไม่ถูกสุขลักษณะและมีแมลง ตลอดจนสัตว์ก่อความรำ�คาญ ช่วยเร่งการเสื่อมสภาพของอาหาร แนะนำ �การเก็บอาหารที่มีวัตถุดิบมาจากธรรมชาติที่อุณหภูมิต่ำ �กว่า 21 ซ (70 ฟ) และความชื้นสัมพัทธ์ต�กว่า 50% ควรระมัดระวังการให้อาหารที่บูดเน่าเสียได้ เช่น เนื้อสัตว์ ่ำ ผลไม้และผัก ตลอดจนอาหารพิเศษต่างๆ (เช่น อาหารที่เป็นยา และ มีไขมันเป็นส่วนประกอบอยู่ในปริมาณ มาก) เพราะว่าสภาวะการเก็บต่างๆอาจนำ�ไปสู่การแปรเปลี่ยนคุณภาพอาหาร อาหารสัตว์ทดลองชนิดแห้งที่มีส่วนผสมจากธรรมชาติโดยส่วนใหญ่ที่เก็บอย่างถูกต้อง สามารถใช้ได้ นานถึง 6 เดือนหลังจากการผลิต วิตามินซีชนิดทีไม่คงทนซึงอยูในอาหารทีผลิตโดยทัวไปมีอายุการเก็บรักษา ่ ่ ่ ่ ่ เพียง 3 เดือนเท่านั้น แต่การใช้วิตามินซีในรูปแบบที่คงตัวสามารถยืดอายุการเก็บรักษาอาหาร การเก็บใน ตู้เย็นสามารถรักษาคุณภาพทางโภชนาการและทำ�ให้อายุการเก็บอาหารยาวนานขึ้น แต่ในทางปฏิบัติควร ลดเวลาการเก็บอาหารลงถึงช่วงเวลาที่ต่ำ�ที่สุดและตามข้อแนะนำ�ของผู้ผลิต อาหารชนิดบริสุทธิ์และชนิด ทีก�หนดส่วนประกอบทางเคมีมความคงทนน้อยกว่าอาหารทีมสวนผสมจากธรรมชาติ และมักมีอายุการเก็บ ่ ำ ี ่ ี ่ น้อยกว่า 6 เดือน (Fullerton and others 1982) อาหารเหล่านี้ควรถูกเก็บที่อุณหภูมิ 4 ซ (39 ฟ) หรือต่�กว่า ำ มักใช้อาหารที่อาบรังสีและอาหารเสริมแร่ธาตุที่สามารถอบนึ่งด้วยไอน้ำ�ร้อนภายใต้ความดันกับสัตว์ ฟันแทะชนิดปลอดเชือสมบูรณ์ หรือกำ�หนดชนิดของเชือจุลชีพได้ และสัตว์ทมภมคมกันบกพร่อง (NRC 1996) ้ ้ ี่ ี ู ิ ุ้ การใช้อาหารเสริมแร่ธาติที่สามารถอบนึ่งได้ที่หาซื้อได้ท�ให้มั่นใจว่าวิตามินที่มีอยู่ไม่คงที่นั้น ไม่ได้ถูกกระทบ ำ โดยไอน้�ร้อนและ/หรือ ความร้อน (Caufield et al. 2008; NRC 1996) แต่ควรพิจารณาผลกระทบของการ ำ อบนึงทีมตอเม็ดอาหารสัตว์ เพราะอาจมีผลต่อความแข็งและความน่ากินด้วย และยังนำ�ไปสูการเปลียนแปลง ่ ่ ี ่ ่ ่ ทางเคมีของส่วนผสมต่างๆในอาหารสัตว์ (Thigpen et al 2004; Twaddle et al 2004) ควรบันทึกวันที่ ของการอบนึ่งและใช้อาหารโดยเร็ว ควรออกแบบและวางทีให้อาหารไว้ในทีเข้าถึงได้งาย และลดการปนเปือนปัสสาวะและอุจจาระให้นอย ่ ่ ่ ้ ้ ที่สุดและบำ�รุงรักษาให้อยู่ในสภาพดี เมื่อสัตว์ถูกขังเป็นกลุ่มควรมีพื้นที่ว่างพอเพียงและมีจุดให้อาหาร อย่างพอเพียงเพื่อลดการแย่งอาหาร และให้แน่ใจว่าสัตว์ทุกตัวได้กินอาหารโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อการจำ�กัด

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 67 อาหารเป็นส่วนหนึงของโปรโตคอลหรือการจัดการตามกิจวัตร ไม่ควรขนย้ายภาชนะบรรจุอาหารไปมาระหว่าง ่ บริ เวณที่ อ าจเกิ ด ความเสี่ ย งของการปนเปื้ อ นโดยไม่ ไ ด้ ใ ห้ ก ารปฏิ บั ติ อ ย่ า งเหมาะสมก่ อ น และควรทำ � ความสะอาดที่ให้อาหารและการสุขาภิบาลโดยสม่�เสมอ ำ การจัดการปริมาณแคลอรี่ซึ่งรับเข้าสู่ร่างกายเป็นที่ยอมรับทางการปฏิบัติสำ�หรับการดูแลสัตว์ที่ต้อง เลียงเป็นระยะเวลานาน ได้แก่ สัตว์ฟนแทะบางชนิด กระต่ายและลิง และเป็นสิงเสริมวิธด�เนินการทางคลินก ้ ั ่ ี ำ ิ การทดลอง และการศัลยกรรมบางอย่าง (สำ�หรับการอธิบายเพิ่มเติมเรื่องการควบคุมอาหารและน้ำ�เพื่อเป็น เครื่องมือการทดลอง ให้ดูที่บทที่ 2 และ NRC 2003a) ประโยชน์ของการจำ�กัดแคลอรี่อย่างปานกลางในสัตว์ บางชนิดอาจทำ�ให้อายุยืนยาว เพิ่มการเจริญพันธุ์ และ ลดความอ้วน ลดอัตราการเกิดมะเร็งและความผิด ปกติที่เกิดจากระบบประสาท (Ames et al 1993; Colman et al. 2009; Kenan et al. 1994; 1996; Lawler et al. 2008; Weindruch and Walford 1988) ภายใต้สภาวะการเลี้ยงที่ได้มาตรฐานควรคำ�นึงถึงการเปลี่ยนแปลงต่างๆทางชีววิทยาซึ่งสัมพันธ์กับ ความแก่ ตัวอย่างเช่น มีหลักฐานอย่างชัดเจนแสดงว่า หนูเมาส์และหนูแรททีให้สามารถเข้าถึงอาหารได้ตลอด ่ เวลาจะทำ�ให้อวนมากเกินไปพร้อมกับการเปลียนแปลงซึงเกียวข้องกับความเปลียนแปลงการสันดาป รวมทัง ้ ่ ่ ่ ่ ้ หัวใจและหลอดเลือด เช่น การดื้อต่ออินซูลินและการมีความดันโลหิตสูงขึ้น (Martin et al. 2010) สิ่งเหล่านี้ และการเปลียนแปลงอืนๆตลอดจนวิถทางดำ�เนินชีวตซึงอยูประจำ�ทีมากกว่าและขาดการออกกำ�ลังกาย เพิม ่ ่ ี ิ ่ ่ ่ ่ ความเสี่ยงการตายก่อนถึงกำ�หนด (ดังที่ได้อ้างแล้ว) การจัดการแคลอรี่ซึ่งมีผลต่อการปรับตัวทางสรีรวิทยา และเปลี่ยนแปลงการตอบสนองทางการสันดาปต่างๆตามรูปแบบเฉพาะตัวสำ�หรับชนิดของสัตว์ (Leville and Hanson 1966) สามารถทำ�ให้ส�เร็จโดยการลดปริมาณอาหารที่กินและกระตุ้นการออกกำ�ลังกาย ำ ในสัตว์บางชนิด (เช่น ลิง) และในบางโอกาส การเปลี่ยนแปลงอาหารที่มีสารอาหารอย่างสมดุลและ การให้ “สิ่งที่พอใจ” ได้แก่ ผลไม้และผักสด เป็นวิธีที่เหมาะสมและเพิ่มพูนความเป็นอยู่ที่ดี การโปรยอาหาร ในวัสดุรองนอนหรือการเสนอส่วนหนึ่งส่วนใดของอาหารหลายๆวิธีซึ่งจัดให้สัตว์ต้องทำ�งานเพื่อให้ได้อาหาร นั้นมา (เช่น กล่องให้อาหารปริศนาสำ�หรับลิง) ให้โอกาสสัตว์ได้เสาะหาอาหารตามธรรมชาติซึ่งโดยปกติสัตว์ ใช้เวลาโดยส่วนใหญ่ในแต่ละวันกับกิจกรรมนี้ อาหารควรมีสารอาหารอย่างสมดุล มีการรายงานในสัตว์หลาย ชนิดว่าถ้าเสนอให้โอกาสในการเลือกอาหารที่ไม่สมดุลและสมดุล สัตว์ไม่เลือกกินอาหารที่สมดุลและเกิดการ ขาดสารอาหารหรือความอ้วนเพราะเลือกกินอาหารให้พลังงานสูงที่มีโปรตีนต่ำ� (Moore 1987) ควรหลีกเลี่ยง การเปลียนอาหารโดยฉับพลันให้เกิดน้อยทีสด ซึงหลีกเลียงได้ยากเมือหย่านม เพราะนำ�ไปสูความรบกวนต่อ ่ ่ ุ ่ ่ ่ ่ การย่อยและการเผาผลาญอาหาร การเปลียนแปลงเหล่านีเกิดขึนในสัตว์ชนิดทีกนทังพืชและเนือ (omnivores) ่ ้ ้ ่ิ ้ ้ และสัตว์ที่กินเฉพาะเนื้อ (carnivors) แต่ในสัตว์ที่กินพืชเท่านั้น (herbivores) ที่มีความไวต่อความเปลี่ยนแปลง มากเป็นพิเศษ (Eadie and Mann 1970) น้ำ� สัตว์ควรได้น้ำ�กินที่ไม่มีสิ่งปนเปื้อน โดยสอดคล้องกับความต้องการเฉพาะของสัตว์นั้น คุณภาพและคำ� จำ�กัดความของน้ำ�กินสามารถผันแปรได้ตามสถานที่ (Homberger et al. 1993) อาจจำ�เป็นต้องตรวจสอบ

68 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง ความเป็นกรดด่าง ความกระด้าง และการปนเปือนของจุลชีพและสารเคมีเป็นระยะๆ เพือให้มนใจว่าคุณภาพ ้ ่ ั่ น้�เป็นทียอมรับได้ โดยเฉพาะอย่างยิงสำ�หรับการศึกษาซึงส่วนประกอบของน้�ตามปกติ ณ ทีใดทีหนึงสามารถ ำ ่ ่ ่ ำ ่ ่ ่ มีอิทธิพลต่อผลการศึกษา สามารถบำ�บัดน้ำ�หรือทำ�ให้บริสุทธิ์เพื่อลดหรือกำ�จัดการปนเปื้อนให้มีน้อยที่สุด เมื่อโครงร่างงานวิจัยต้องการน้ำ�ที่บริสุทธิ์อย่างมาก ควรพิจารณาเลือกวิธีบำ�บัดน้ำ�อย่างระมัดระวังเพราะ การบำ�บัดน้ำ�หลายวิธีมีโอกาสทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ การลดการกินน้ำ� การเปลี่ยนแปลง ทางจุลชีพหรือมีอิทธิพลต่างๆต่อผลการทดลอง Fidler 1977; Hall et al. 1980; Hermann et al. 1982; Homberger et al. 1993; NRC 1996) ควรหมั่นตรวจอุปกรณ์ให้น� เช่น หลอดดูดน้�และระบบให้น้ำ�อัตโนมัติเพื่อให้แน่ใจว่าได้รับการบำ�รุง ้ำ ำ รักษาอย่างพอเพียง มีความสะอาดและทำ�งานได้ บางครังสัตว์ตองได้รบการสอนให้ใช้อุปกรณ์ให้น้ำ�อัตโนมัติ ้ ้ ั และควรสังเกตอาการอย่างสม่�เสมอจนกระทั่งสัตว์ใช้ได้เป็นกิจวัตรเพื่อป้องกันภาวะการขาดน้ำ� การเปลี่ยน ำ ขวดน้ำ�ดีกว่าการเติมน้ำ�ใส่ขวดเดิมเพราะมีโอกาสปนเปื้อนจุลชีพข้ามขวดน้ำ� ถ้านำ�ขวดมาเติมน้ำ�ควรดูแล ให้ขวดน้ำ�ถูกใส่กลับไปยังกรงเดิมที่ถูกดึงออกมา ระบบให้น้ำ�อัตโนมัติควรได้รับการปล่อยน้ำ�ทิ้งและฆ่าเชื้อ เป็นประจำ� สัตว์ที่ถูกให้อยู่ในสถานที่กลางแจ้งอาจใช้แหล่งน้ำ�อื่นได้นอกเหนือจากอุปกรณ์ให้น้ำ� เช่น ธารน้ำ� หรือแอ่งน้ำ�หลังฝนตกหนัก ควรดูแลเพื่อให้มั่นใจว่าส่วนประกอบเสริมแหล่งน้ำ�นั้นไม่เป็นภัย แต่ตามปกติ ไม่จำ�เป็นต้องกีดกันการใช้ประโยชน์จากแหล่งน้� ำ วัสดุรองนอนและทำ�รัง วัสดุรองนอนและทำ�รังของสัตว์เป็นปัจจัยทางสภาพแวดล้อมทีควบคุมได้ซงมีอทธิพล ่ ึ่ ิ ต่อข้อมูลการทดลองและต่อความเป็นอยูทดของสัตว์บกโดยส่วนใหญ่ วัสดุรองนอนถูกใช้เพือดูดซับความชืน ่ ี่ ี ่ ้ ลดการเจริญเติบโตของจุลชีพให้เหลือน้อยที่สุด อีกทั้งเจือจางและจำ�กัดไม่ให้สัตว์สัมผัสของเสีย และได้มีการ พบว่าวัสดุรองนอนชนิดเฉพาะสามารถลดการสะสมแอมโมเนียภายในกรง (Perkin and Lipman 1995; E. Smith et al. 2004) มีการใช้วัสดุรองนอนหลายชนิดทั้งแบบสัมผัสและไม่สัมผัสตัวสัตว์ ได้มีการอธิบาย คุณสมบัติที่พึงประสงค์และวิธีการประเมินวัสดุรองนอน (Gibson et al. 1987; Jones 1977; Kraft 1980; Thigpen et al. 1989; Weichbrod et al. 1986) สัตวแพทย์หรือผู้จัดการสถานที่ร่วมกับการปรึกษานักวิจัยควร เลือกวัสดุรองนอนและทำ�รังของสัตว์ซงเหมาะสมทีสด มีสตว์หลายชนิด ทีสงเกตมากทีสดคือสัตว์ฟนแทะแสดง ึ่ ุ่ ั ่ั ุ่ ั ความชอบวัสดุบางชนิดมากอย่างเห็นได้ชัด (Bloom et al. 1996; Manser et al 1997; Ras et al. 2002) และ หนูเมาส์ทได้วสดุท�รังอย่างเหมาะสมสร้างรังได้ดกว่า (Hess et al. 2008) สนับสนุนให้ใช้วสดุรองนอนซึงทำ�ให้ ี่ ั ำ ี ั ่ สัตว์สามารถหลบอาศัยอยู่ในโพรงสำ�หรับสัตว์บางชนิด เช่น หนูเมาส์ และแฮมสเตอร์ ไม่มีวัสดุรองนอนในอุดมคติที่เหมาะสำ�หรับสัตว์ทุกชนิดภายใต้ภาวะการจัดการและการทดลองทั้งหมด ตัวอย่างเช่น วัสดุรองนอนบางชนิดที่เป็นกระดาษละเอียด (เช่น ผงขนาดเล็กมากพบในวัสดุรองนอนบางชนิด) สามารถทำ�ให้หนูที่ไม่มีขน (nude) หรือปราศจากขนซึ่งไม่มีขนตา เกิดเป็นฝีที่เบ้าตา (White et al. 2008) ขณะที่ วัสดุท�รังทีเป็นใยฝ้ายอาจเหนียวนำ�ให้เกิดกระจกตาอักเสบ (Bazille et al. 2001) วัสดุรองนอนสามารถส่งกระทบ ำ ่ ่ ต่อภูมิคุ้มกันของเยื่อเมือก (Sanford et al. 2002) และเกิด endocytosis (Buddaraju and Van Dyke 2003)

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 69 ได้มีการใช้วัสดุรองนอนจำ�พวกไม้เนื้ออ่อน แต่ห้ามใช้ขี้กบและขี้เลื่อยจากไม้เนื้ออ่อนที่ไม่ได้ผ่านการ บำ�บัดสำ�หรับการวิจัยบางชนิด เพราะมีผลกระทบต่อการเผาผลาญพลังงานของสัตว์ (Vessell 1967; Vessell et al. 1973, 1976) ไม่แนะนำ�ให้ใช้ขกบจากไม้ซดาร์เพราะปล่อยสารระเหยไฮโดรคาร์บอนทีเหนียวนำ�เอนไซม์ ี้ ี ่ ่ ไมโครโซมของตับและมีพิษต่อเซลล์ (Torronen et al. 1989; Weichbrod et al. 1986, 1988) และมีรายงาน การเพิ่มอุบัติการณ์เกิดมะเร็ง (Jacobs and Dieter 1978, Vlahakis 1977) การบำ�บัดด้วยความร้อนสูง (การทำ�ให้แห้งในเตาเผา หรือ การอบด้วยเครื่องอบความร้อนสูงด้วยไอน้ำ�ร้อน) ก่อนที่จะนำ�วัสดุรองนอน ไปใช้อาจช่วยลดความเข้มข้นของสารอินทรียทระเหยได้ ทังนีขนอยูกบวัสดุและความเข้มข้นของส่วนประกอบ ์ ี่ ้ ้ ึ้ ่ ั สารระเหยไฮโดรคาร์บอน แต่ปริมาณที่คงเหลืออยู่อาจมีอยู่พอเพียงที่จะมีอิทธิพลต่อโปรโตคอลเฉพาะ (Cunliffe-Beamer et al. 1981; Nevalainen and Vertianen 1996) การซื้อผลิตภัณฑ์วัสดุรองนอนควรพิจารณาการผลิต การควบคุมตรวจสอบและวิธีการเก็บรักษาของ ผูผลิต วัสดุรองนอนอาจมีการปนเปือนด้วยสารพิษและสารอืนๆ แบคทีเรีย ราและสัตว์กอความรำ�คาญ วัสดุ ้ ้ ่ ่ รองนอนควรถูกขนส่งและจัดเก็บห่างจากพื้นบนแท่นรอง ชั้น หรือรถเข็นด้วยวิธีที่สอดคล้องให้คงคุณภาพ และหลีกเลี่ยงการปนเปื้อน ควรจัดเก็บถุงวัสดุรองนอนห่างจากผนังอย่างพอเพียงเพื่อเอื้อต่อการทำ�ความ สะอาด วัสดุรองนอนสามารถดูดซับความชื้นในระหว่างการอบด้วยความร้อนสูงด้วยไอน้�ร้อน และเป็นผล ำ ทำ�ให้ลดความ สามารถการซึมซับความชื้น และส่งเสริมการเจริญของจุลชีพ ดังนั้น ควรใช้ระยะเวลารอให้ แห้งอย่างเหมาะสมและมีสภาพการเก็บที่พอเหมาะ วัสดุที่อาบรังสีแกมม่าเป็นวิธีทดแทนได้ถ้ามีข้อบ่งชี้ ให้มีวัสดุรองนอนที่ปลอดเชื้อ ควรใช้วัสดุรองนอนในปริมาณที่พอเพียงเพื่อให้สัตว์แห้งระหว่างช่วงเวลาการเปลี่ยนกรงและใน กรณีสัตว์ทดลองขนาดเล็ก ควรดูแลให้วัสดุรองนอนอยู่ห่างจากท่อดูดน้ำ� เพราะการสัมผัสนี้ทำ�ให้น้ำ�รั่ว ลงไปในกรง การสุขาภิบาล (Sanitation) การสุขาภิบาล คือ การดำ�รงสภาพแวดล้อมต่างๆที่นำ�ไปสู่สุขภาพดีและมีความ เป็นอยู่ที่ดีมีความเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนวัสดุรองนอน (อย่างเหมาะสม) การทำ�ความสะอาดและการฆ่าเชื้อ การทำ�ความสะอาด (cleaning) คือ การกำ�จัดสิ่งขับถ่าย สิ่งสกปรกและคราบต่างๆที่มีอยู่มากเกินไป และ การฆ่าเชือ (disinfection) คือการลดหรือกำ�จัดปริมาณของจุลชีพทีมากจนยอมรับไม่ได้ เป้าหมายของโปรแกรม ้ ่ การสุขาภิบาลใดๆ คือ เพือรักษาความสะอาดและความแห้งอย่างพอเพียงของวัสดุรองนอน คุณภาพอากาศ ่ อย่างเหมาะสม และพื้นผิวกรงและส่วนประกอบอื่นๆให้สะอาด ความถีและความเอาจริงเอาจังของการทำ�ความสะอาดและการฆ่าเชือ ควรขึนอยูกบความจำ�เป็นเพือ ่ ้ ้ ่ ั ่ ให้สภาพแวดล้อมซึ่งทำ�ให้สัตว์มีสุขภาพดี วิธีต่างๆและความถี่ของการสุขาภิบาลจะผันแปรตามปัจจัยหลาย อย่าง ได้แก่สรีระและคุณสมบัติทางพฤติกรรมตามปกติของสัตว์ ชนิด ลักษณะทางกายภาพและขนาดของ สิงล้อมรอบ การใช้และชนิดของวัสดุรองนอน อุณหภูมและความชืนสัมพัทธ์ ธรรมชาติของวัสดุทก�หนดความ ่ ิ ้ ี่ ำ จำ�เป็นต่อการสุขาภิบาลและอัตราการทำ�ให้พื้นผิวของสิ่งล้อมรอบสกปรก ในระบบการเลี้ยงหรือวิธีการ

70 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง ทดลองบางแบบอาจต้องจัดให้มีเทคนิคการสัตวบาลที่จำ�เพาะ เช่น การจับต้องด้วยวิธีปลอดเชื้อ หรือการ ดัดแปลงความถี่ของการเปลี่ยนวัสดุรองนอน ไม่ควรใช้สารดับกลิ่นในอาคารเลี้ยงสัตว์ สิ่งเหล่านั้นไม่สามารถทดแทนวิธีปฏิบัติทางสุขาภิบาลที่ดี หรือการให้การระบายอากาศทีเพียงพอ และสัตว์ทสมผัสกับสารทีมไอระเหยอาจเปลียนกระบวนการพืนฐาน ่ ี่ ั ่ ี ่ ้ ทางสรีระ และการเผาผลาญพลังงานของร่างกาย การเปลี่ยนวัสดุรองนอน วัสดุรองนอนที่สกปรกควรถูกเก็บออกและแทนที่ด้วยวัสดุใหม่บ่อยเท่าที่ จำ�เป็น เพื่อรักษาให้สัตว์สะอาดและแห้งและเพื่อรักษาระดับของสารพิษต่างๆ เช่น แอมโมเนีย ให้อยู่ที่ความ เข้มข้นต่�กว่าระดับทีระคายเคืองเยือชุมต่างๆ ความถีของการเปลียนวัสดุรองนอนขึนอยูกบปัจจัยต่างๆ เช่น ำ ่ ่ ่ ่ ่ ้ ่ ั ชนิ ด จำ � นวนและขนาดของสั ต ว์ ใ นสิ่ ง ล้ อ มรอบอั น ดั บ แรก ชนิ ด และขนาดของสิ่ ง ล้ อ มรอบ อุ ณ ภู มิ ความชื้นสัมพัทธ์ของสิ่งแวดล้อมมหภาคและจุลภาคและการระบายอากาศโดยตรงของสิ่งล้อมรอบ การขับ ถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ และ ลักษณะภายนอกและความเปียกของวัสดุรองนอน และสภาวะต่างๆของการ ทดลอง เช่น การศัลยกรรมหรือภาวะการอ่อนเพลียทีอาจจำ�กัดการเคลือนไหวของสัตว์หรือการเข้าไปในบริเวณ ่ ่ ที่สะอาดของกรง ไม่มีการจำ�กัดความถี่ขั้นต่�ของการเปลี่ยนวัสดุรองนอนที่สมบูรณ์ ทางเลือกนี้ใช้การตัดสิน ำ ใจโดยผูเชียวชาญและการปรึกษากับนักวิจยและบุคลากรผูดแลสัตว์ มีความผันแปรจากทุกวันจนถึงทุกสัปดาห์ ้ ่ ั ้ ู ในบางสถานะการเปลียนวัสดุรองนอนบ่อยเป็นข้อห้าม ตัวอย่างเช่น บางช่วงระยะเวลาระหว่างก่อนและหลัง ่ การคลอด เมื่อวัตถุประสงค์การวิจัยจะถูกกระทบกระเทือน และ สัตว์บางชนิดซึ่งการแต้มกลิ่นเป็นสิ่งวิกฤต และฟีโรโมนเป็นสิ่งจำ�เป็นสำ�หรับการสืบพันธุ์ให้ประสบผลสำ�เร็จ การทำ�ความสะอาดและการฆ่าเชื้อสิ่งแวดล้อมจุลภาค ความถี่ของการสุขาภิบาลของกรง ชั้นวางกรง และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง (เช่น อุปกรณ์ที่ให้อาหารและน้ำ�) ถูกกำ�หนดขอบเขตบ้างด้วยชนิดของกรงและวิธี ปฏิบตทางสัตวบาล ได้แก่ การเปลียนวัสดุรองนอนอย่างสม่�เสมอทังชนิดสัมผัสและไม่สมผัสกับตัวสัตว์ การ ั ิ ่ ำ ้ ั ฉีดราดน้ำ�ล้างถาดรับสิ่งปฏิกูลชนิดแขวนอย่างสม่�เสมอ การใช้กรงที่มีพื้นเป็นลวดหรือมีช่อง โดยทั่วไป สิ่ง ำ ล้อมรอบและส่วนประกอบต่างๆ เช่น ฝาครอบ ควรได้รับการสุขาภิบาลอย่างน้อยทุกสองสัปดาห์ กรงที่มีพื้น ทึบ ขวดน้ำ�และหลอดดูดน้�จะต้องการการทำ�ความสะอาดฆ่าเชื้ออย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง กรงบางชนิดและ ำ ระบบการให้ทอยูบางอย่างอาจไม่ตองการการทำ�ความสะอาดและฆ่าเชือบ่อยนัก ระบบทีอยูอาศัยเช่นนีได้แก่ ี่ ่ ้ ้ ่ ่ ้ กรงขนาดใหญ่ที่มีจำ�นวนสัตว์น้อยและมีการเปลี่ยนวัสดุรองนอนบ่อย กรงที่มีสัตว์ในสภาวะที่ระบุจุลชีพได้ โดยมีการเปลี่ยนวัสดุรองนอนบ่อย กรงที่มีการระบายอากาศแยกแต่ละกรง และกรงที่ถูกใช้สำ�หรับสภาวะ พิเศษต่างๆ ตัวอย่างอื่นๆ ได้แก่ กรงชนิดที่มีฝาครอบแผ่นกรองอากาศโดยไม่มีการบังคับการระบายอากาศ สัตว์ที่ปัสสาวะมากกว่าปกติ (เช่น สัตว์เป็นเบาหวาน หรือโรคไต) หรือสิ่งล้อมรอบที่มีสัตว์อยู่หนาแน่น อาจ ต้องจัดให้มีการสุขาภิบาลบ่อยกว่า ความนิยมใช้กรงทีมการระบายอากาศแยกแต่ละกรง (IVCs) สำ�หรับสัตว์ฟนแทะซึงมีสงมากจนได้น�ไป ่ ี ั ่ ู ำ สู่การค้นคว้าการรักษาสภาพแวดล้อมจุลภาคอย่างเหมาะสมโดยการยืดระยะห่างของช่วงเวลาการสุขาภิบาล กรง และ/หรือ การเพิ่มความหนาแน่นของกรง (Carissimi et al. 2000; Reeb-Whitaker et al. 2001; Schon-

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 71 delmeyer et al. 2006) ด้วยการออกแบบระบบการระบายอากาศกรงให้มการแลกเปลียนอากาศอย่างต่อเนือง ี ่ ่ เมื่อเปรียบเทียบกับระบบกรงสถิตย์ที่อาศัยการระบายอากาศฝั่งบวกที่มาจากสภาพแวดล้อมมหภาค ดังได้ อธิบายแล้วข้างต้น อาจมีการให้เหตุผลสมควรลดความถี่ของการสุขาภิบาล ถ้าสภาพแวดล้อมจุลภาคภายใน กรงภายใต้สภาวะการใช้ (เช่น ชนิดของกรงและบริษทผูผลิต วัสดุรองนอน ชนิดสัตว์ สายพันธุ์ อายุ เพศ ความ ั ้ หนาแน่นและข้อควรคำ�นึงต่างๆเกี่ยวกับการทดลอง) ไม่ถูกกระทบกระเทือน (Reeb et al. 1998) การยืนยัน สภาวะของสภาพแวดล้อมจุลภาคอาจรวมถึงการตรวจวัดมลพิษต่างๆ ได้แก่ แอมโมเนีย และคาร์บอนได ออกไซด์ จำ�นวนจุลชีพที่มีอยู่ การสังเกตพฤติกรรมและอาการภายนอกของสัตว์ และ สภาวะของวัสดุ รองนอนและพื้นผิวกรง สามารถทำ�ความสะอาดฆ่าเชื้อสิ่งล้อมรอบอันดับแรกด้วยสารเคมี น้ำ�ร้อน หรือการใช้ทั้งสองชนิด ร่วมกัน2 ควรควบคุมระยะเวลาและสภาวะการล้าง และกระบวนการปฏิบัติตามหลังการล้าง (เช่น การทำ�ให้ ปลอดเชื้อ) ให้เพียงพอเพื่อลดหรือฆ่าแบคทีเรียที่อยู่ในระยะเพิ่มจำ�นวนทั้งที่เป็นแบคทีเรียชนิดฉวยโอกาส และชนิดทีท�ให้เกิดโรคได้ ไวรัสทีมโดยบังเอิญและจุลชีพอืนๆ ทีอนุมานว่าควบคุมได้ดวยโปรแกรมสุขาภิบาล ่ ำ ่ ี ่ ่ ้ การฆ่าเชือด้วยน้�ร้อนเพียงอย่างเดียวเป็นผลของประสิทธิภาพร่วมกันของอุณหภูมและระยะเวลาซึง อุณหภูมิ ้ ำ ิ ่ ทีให้นน (ปัจจัยการสะสมความร้อน) ส่งถึงพืนผิวของสิงของ สามารถให้ปจจัยการสะสมความร้อนเช่นเดียวกัน ่ ั้ ้ ่ ั นี้คุกคามเชื้อจุลชีพด้วยการให้อุณหภูมิสูงด้วยระยะเวลาสั้น หรือ อุณหภูมิต�กว่าด้วยระยะเวลายาวนานขึ้น ่ำ (WARDRIP et al. 1994, 2000) การฆ่าเชื้ออย่างได้ผลสามารถทำ�โดยการล้างและชะล้างด้วยน้ำ�ที่อุณหภูมิ 143−180 ฟ หรือสูงกว่า อุณหภูมิน้ำ�ชะล้างสุดท้ายที่ต้องการมักใช้ที่ 82.2 ซ (180 ฟ) เป็นอุณหภูมิภายในถัง หรือในหัวฉีดหลายชนิด สารซักฟอกและสารเคมีทใช้ฆาเชือช่วยเสริมประสิทธิภาพของน้�ร้อนแต่ควรถูกชะล้าง ี่ ่ ้ ำ ด้วยน้�ออกจากพืนผิวจนหมดจดก่อนการนำ�อุปกรณ์ไปใช้อก การใช้สารซักฟอกและยาฆ่าเชือเหล่านีอาจเป็น ำ ้ ี ้ ้ ข้อห้ามสำ�หรับสัตว์น้ำ�บางชนิด เพราะว่าสิ่งตกค้างอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ แนะนำ�ให้ใช้เครื่องจักรกล (เช่น เครื่องล้างกรง ชั้นวางกรง เครื่องล้างแบบอุโมงค์ และ เครื่องล้างขวด) สำ�หรับการล้างอุปกรณ์เกี่ยวกับ กรงและอุปกรณ์ซึ่งเคลื่อนที่ได้ การล้างและการฆ่าเชื้อกรงและอุปกรณ์ด้วยมือร่วมกับน้ำ�ร้อนและสารซักฟอกหรือยาฆ่าเชื้อสามารถ มีประสิทธิภาพได้แต่ตองการความใส่ใจในรายละเอียดเป็นสิงสำ�คัญโดยเฉพาะทีตองทำ�ให้มนใจว่าพืนผิวต่างๆ ้ ่ ่ ้ ั่ ้ ถูกชะล้างด้วยน้�จนปราศจากสารเคมีตกค้าง และบุคลากรต้องมีอปกรณ์ทเหมาะสมเพือป้องกันร่างกายจาก ำ ุ ี่ ่ การสัมผัสน้ำ�ร้อนหรือสารเคมีที่ถูกใช้ในกระบวนการ ควรล้าง ขวดน้ำ� หลอดดูดน้ำ� จุกปิดขวดน้ำ� ที่ให้อาหาร และอุปกรณ์ชิ้นเล็กอื่นๆ ด้วยสารซักฟอก และ/หรือน้ำ�ร้อน และเมื่อเหมาะสมด้วยสารเคมีเพื่อฆ่าจุลชีพ การล้างเครื่องมือชิ้นเล็กๆ ด้วยเครื่องอุลตร้า ซาวด์อาจเป็นวิธีที่มีประโยชน์ ______________ 2 กระต่าย และ สัตว์ฟันแทะบางชนิด ได้แก่ หนูตะเภา และ แฮมสเตอร์ ผลิตปัสสาวะที่มีโปรตีนและเกลือความเข้มข้นสูง สารประกอบเหล่านี้มักเกาะติดพื้นผิวต่างๆ ของกรง และจำ�เป็นต้องบำ�บัดด้วยสารละลายกรดก่อน และ/หรือระหว่างการล้าง

72 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง ถ้าใช้ระบบให้น�อัตโนมัติ แนะนำ�ให้ใช้วธการบางอย่างเพือให้แน่ใจว่าจุลชีพและสิงสกปรกไม่สะสมใน ้ำ ิี ่ ่ เครื่องจ่ายน้ำ� (Meiet at al. 2008) วิธีการเช่น การปล่อยให้น�หรือสารเคมีที่เหมาะสมปริมาณมากๆไหลผ่าน ้ำ เป็นระยะ ตามด้วยการชะล้างด้วยน้�เปล่าจนสะอาดหมดจด ระบบวงจรท่อปิดแบบไหลวนอย่างคงที่ใช้การ ำ บำ�รุงรักษาแผ่นกรองรังสีอลตร้าไวโอเล็ท หรือเครืองมืออืนๆอย่างถูกต้องเพือฆ่าเชือในน้�ทีไหลเวียนกลับมา ุ ่ ่ ่ ้ ำ ่ ใช้ซ้ำ�เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพอีกวิธีหนึ่ง ควรใส่ใจการสุขาภิบาลของระบบลิ้นปิดเปิดจ่ายน้ำ� (เช่น จุกให้น้ำ�) ในระหว่างการทำ�ความสะอาดสิ่งล้อมรอบอันดับแรก การล้างและการฆ่าเชืออุปกรณ์เลียงสัตว์ดวยวิธดงเดิมเป็นการพอเพียง อย่างไรก็ดี อาจมีความจำ�เป็น ้ ้ ้ ี ั้ ต้องทำ�ให้กรงและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องปราศจากเชื้อเพื่อให้แน่ใจว่า ไม่ได้นำ�จุลชีพต่างๆทั้งที่ทำ�ให้เกิดโรค และฉวยโอกาสไปสูสตว์ทปลอดเชือจำ�เพาะ (Specific-pathogen-free) หรือมีภมคมกันอ่อนแอ (immunocom- ่ ั ี่ ้ ู ิ ุ้ promized) หรือเชื้อชีวภาพอันตรายได้ถูกทำ�ลายก่อนการล้าง เครื่องฆ่าเชื้อ (sterilizer) ควรถูกประเมินและ ตรวจสอบอย่างสม่ำ�เสมอเพื่อให้มั่นใจว่าปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ สำ�หรับคอกสัตว์หรือลูวง การฉีดล้างด้วยน้�บ่อยๆและการใช้สารซักล้างหรือน้�ยาฆ่าเชือ นับว่ามีความ ่ ิ่ ำ ำ ้ เหมาะสมเพื่อรักษาความสะอาดของพื้นผิวอย่างพอเพียง ถ้าของเสียจากสัตว์ถูกกำ�จัดด้วยการฉีดน้ำ�ล้าง จำ�เป็นจะต้องทำ�อย่างน้อยวันละหนึ่งครั้ง ระหว่างการล้างควรใส่ใจไม่ให้สัตว์เปียก ควรใส่ใจกระบวนการทาง พฤติกรรมและสรีระของสัตว์ในการกำ�หนดช่วงเวลาการล้างคอกสัตว์หรือลู่วิ่ง ตัวอย่างเช่น ปฏิกิริยาโต้ตอบ ต่อสิ่งกระตุ้นกระเพาะอาหารและสำ�ไส้ใหญ่ในสัตว์หลังการให้อาหารเป็นผลให้สัตว์ถ่ายอุจจาระหลังการกิน อาหารในระยะอันสั้น การทำ�ความสะอาดและการฆ่าเชื้อสิ่งแวดล้อมมหภาค ควรทำ�ความสะอาดส่วนประกอบทั้งหมดของ สถานทีส�หรับสัตว์ ได้แก่ ห้องเลียงสัตว์และพืนทีสนับสนุนต่างๆ (เช่น บริเวณสำ�หรับเก็บของ บริเวณล้างกรง ่ ำ ้ ้ ่ ทางเดิน และ ห้องสำ�หรับทำ�ปฏิบัติการสัตว์) อย่างสม่�เสมอและฆ่าเชื้ออย่างเหมาะสมตามสภาพ และ ทำ� ำ บ่อยตามการใช้งานพื้นที่และธรรมชาติของการปนเปื้อนเชื้อ การฆ่าเชื้อด้วยไอระเหยไฮโดรเจนเพออ็อกไซด์ หรือ คลอรีนไดอ็อกไซด์เป็นสารประกอบที่มีประสิทธิภาพสำ�หรับการฆ่าเชื้อห้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ตามหลังการเสร็จสิ้นการทดลองเชื้อจุลชีพที่ไม่สำ�คัญ อุปกรณ์สำ�หรับการทำ�ความสะอาดควรทำ�ด้วยวัสดุที่ทนทานต่อการผุกร่อนและทนต่อการสุขาภิบาล เป็นประจำ� ควรกำ�หนดให้มีอุปกรณ์ประจำ�แต่ละบริเวณโดยเฉพาะ และถ้ายังไม่ได้ฆ่าเชื้อก็ไม่ควรถูกเคลื่อน ย้ายไปมาระหว่างพืนทีตางๆทีมความเสียงต่อการปนเปือนเชือแตกต่างกัน อุปกรณ์ทช�รุดควรได้รบการเปลียน ้ ่ ่ ่ ี ่ ้ ้ ี่ ำ ั ่ ทดแทนอย่างสม่�เสมอ ควรเก็บอุปกรณ์เหล่านันอย่างเรียบร้อยเป็นระเบียบในทีซงสะดวกต่อการตากให้แห้ง ำ ้ ่ ึ่ และลดการปนเปื้อนเชื้อ หรือมีการสะสมสัตว์ก่อความรำ�คาญให้น้อยที่สุด การประเมินประสิทธิภาพการสุขาภิบาล การตรวจสอบการปฏิบัติทางสุขาภิบาลควรเหมาะสมกับ กระบวนการและวัสดุต่างๆที่ถูกทำ�ความสะอาด และอาจรวมทั้ง การตรวจด้วยตาเปล่า การตรวจสอบจุลชีพ และอุณหภูมิของน้ำ� (Compton et al 2004a,b; Etnie et al. 1998; Parker et al. 2003) ไม่ควรใช้ความเข้ม ของกลิ่นสัตว์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลิ่นแอมโมเนียเป็นวิธีเดียวเพื่อประเมินประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 73 สุขาภิบาล การตัดสินใจเพื่อเปลี่ยนความถี่ของการเปลี่ยนกรงและวัสดุรองนอน หรือการล้างกรงควรอยู่บน พื้นฐานของปัจจัยต่างๆ เช่น ความเข้มข้นของแอมโมเนีย สภาวะของวัสดุรองนอน รูปร่างภายนอกของกรง และสัตว์ จำ�นวนและขนาดของสัตว์ที่อาศัยอยู่ในกรง ควรประเมินการทำ�งานของเครื่องล้างเป็นประจำ� และรวมการตรวจสอบส่วนประกอบเครื่องกล ได้แก่ แขนสเปรย์และส่วนด้านบนทีมการเคลือนที่ ตลอดจนหัวกระบอกฉีดเพือให้มนใจว่ามีการทำ�หน้าทีอย่าง ่ ี ่ ่ ั่ ่ เหมาะสม ถ้าการสุขาภิบาลขึนกับระดับอุณหภูมิ แนะนำ�การใช้อปกรณ์ทไวต่ออุณหภูมิ (เช่น เครืองวัดอุณหภูมิ ้ ุ ี่ ่ เครื่องแหย่เพื่อตรวจสอบการทำ�งาน แถบที่ไวต่ออุณหภูมิสำ�หรับเป็นดรรชนีบ่งชี้) เพื่อทำ�ให้มั่นใจว่าอุปกรณ์ ที่ได้รับการสุขาภิบาลนั้นได้รับการทำ�ความสะอาดตามสภาวะที่กำ�หนด ไม่วากระบวนการสุขาภิบาลจะเป็นแบบอัตโนมัตหรือทำ�ด้วยมือ แนะนำ�ให้ท�การประเมินประสิทธิภาพ ่ ิ ำ ของการสุขาภิบาลอย่างสม่�เสมอ ซึงทำ�ได้โดยการประเมินวัสดุตางๆ ทีได้กระบวนการแล้วด้วยการเพาะเชือ ำ ่ ่ ่ ้ จุลชีพหรือการใช้ระบบการตรวจหาสารอินทรีย์ต่างๆ (เช่น อะดีโนซีน ไตรฟอสเฟต [ATP] ไบโอลูมิเนสเซนซ์) และ/หรือ ด้วยการตรวจยืนยันการกำ�จัดสิ่งสกปรกที่ได้ทาลงบนพื้นผิวของอุปกรณ์ก่อนการล้าง การกำ�จัดขยะ ขยะธรรมดา ขยะทางชีวภาพและขยะอันตราย ควรถูกเก็บออกและกำ�จัดเป็นประจำ�ด้วยวิธี ที่ปลอดภัย (Hill 1999) การกำ�จัดขยะของเสียอย่างมีประสิทธิภาพมีทางเลือกหลายวิธี การทำ�สัญญากับ บริษัทที่มีใบอนุญาตกำ�จัดขยะของเสียมักให้การรับประกันการปฏิบัติสอดคล้องตามกฎหมาย และมีความ ปลอดภัยได้บางส่วน การกำ�จัดโดยเตาเผาให้เป็นเถ้าถ่าน ณ พื้นที่ ควรทำ�ตามกฎหมายของรัฐบาลกลาง กฎหมายรัฐ และกฎข้อบังคับของท้องถิ่นทั้งหมด (Nadelkov 1996) ภาชนะรองรับขยะทีปดป้ายอย่างถูกต้อง ควรมีจ�นวนเพียงพอและจัดวางทัวทังสถานทีอย่างมีแบบแผน ่ ิ ำ ่ ้ ่ ภาชนะรองรับขยะควรปราศจากการรั่วซึมและมีฝาปิดได้สนิท วิธีปฏิบัติที่ดีคือการใช้ถุงวางในภาชนะรองรับ ขยะซึ่งใช้แล้วทิ้ง และ ล้างทำ�ความสะอาดภาชนะและอุปกรณ์เป็นประจำ� ควรมีบริเวณสำ�หรับเก็บขยะ โดยเฉพาะซึงสามารถเก็บโดยปราศจากแมลงและสัตว์กอให้เกิดความรำ�คาญอืนๆ ถ้าใช้การเก็บแช่เย็นสำ�หรับ ่ ่ ่ เก็บสิงต่างๆ ก่อนนำ�ไปทิง ควรใช้ตเย็น ตูแช่แข็งหรือห้องเย็นทีมการกำ�หนดไว้โดยเฉพาะซึงทำ�การสุขาภิบาล ่ ้ ู้ ้ ่ ี ่ ได้โดยง่าย ต้องปฏิบัติต่อขยะอันตรายอย่างปลอดภัยโดยการฆ่าเชื้อ การเก็บในอุปกรณ์กักเชื้อ (containment) หรือโดยวิธีอื่นๆที่เหมาะสมก่อนการนำ�ออกนอกอาคาร (DHHS 2009 หรือฉบับล่าสุด; NRC 1989; 1995b) ควรเก็บขยะกัมมันตภาพรังสีในภาชนะที่ปิดฉลากอย่างถูกต้อง และการกำ�จัดขยะเหล่านี้ควรประสานงาน อย่างใกล้ชดกับผูเชียวชาญความปลอดภัยด้านสารกัมมันตภาพรังสีโดยสอดคล้องตามกฎหมายข้อบังคับของ ิ ้ ่ รัฐบาลกลางและของรัฐ รัฐบาลกลางและรัฐโดยส่วนใหญ่ และเทศบาลมีกฎข้อบังคับการควบคุมการกำ�จัด ขยะอันตรายต่างๆ สถาบันมีภาระหน้าที่ต้องปฏิบัติตามกฎข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารอันตราย (ดูบทที่ 2) และการกำ�จัด ซากสัตว์ที่ติดเชื้อสามารถเผาให้เป็นเถ้าถ่านในเตาเผา ณ พื้นที่หรือถูกรวบรวมโดยบริษัทคู่สัญญาที่มี

74 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง ใบอนุญาต ในบางสถานการณ์อาจพิจารณาการใช้เครื่องย่อยด้วยสารเคมี (การบำ�บัดด้วย alkaline hydroly- sis) (Kaye et al. 1998; Murphy et al 2009) ควรมีวิธีดำ�เนินการ ณ พื้นที่สำ�หรับการบรรจุหีบห่อ การปิด ฉลาก การจัดส่ง และการเก็บขยะ รวบรวมเข้าไว้ในนโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ขยะอันตรายซึ่งเป็นพิษ สารก่อมะเร็ง กัดกร่อน ก่อปฏิกิริยาระเบิด หรือเป็นสารที่ไม่คงตัวควรถูกเก็บ ในภาชนะที่มีการปิดฉลากอย่างถูกต้อง และถูกกำ�จัดตามคำ�แนะนำ�ของผู้เชี่ยวชาญทางอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย ในบางโอกาส ขยะเหล่านี้สามารถนำ�มาอัดแน่นหรือผสมรวมกัน ของมีคมและแก้วควรถูกทิ้ง ด้วยวิธีที่จะป้องกันการบาดเจ็บของผู้จับต้องขยะ การควบคุมสัตว์ก่อความรำ�คาญ เป็นความจำ�เป็นต้องจัดให้มีโปรแกรมที่ออกแบบเพื่อป้องกัน ควบคุมและ กำ�จัดการมีอยู่ หรือการรบกวนโดยสัตว์ก่อความรำ�คาญในสิ่งแวดล้อมของสัตว์ โปรแกรมที่มีการกำ�หนดการ ควบคุมและการกำ�กับดูแลตามตารางเวลาตามปกติ และมีการบันทึกเอกสารควรถูกนำ�ไปปฏิบัติ แผนการ ทีดในการป้องกันการเข้ามาของสัตว์กอความรำ�คาญ และกำ�จัดแหล่งทีอยูภายในสถานที่ (Anadon et al. 2009; ่ ี ่ ่ ่ Esterbrook et al. 2008) สำ�หรับสัตว์ที่อยู่ในสถานที่กลางแจ้งควรพิจารณากำ�จัดหรือลดความเสี่ยงที่อาจมี จากสัตว์พวกก่อความรำ�คาญและสัตว์ผู้ล่าต่างๆให้มีน้อยที่สุด สารเคมีฆ่าสัตว์ก่อความรำ�คาญ (pesticides) สามารถเกิดผลที่เป็นพิษต่อสัตว์ทดลองและรบกวนวิธี ดำ�เนินการทดลองต่างๆ (Gunasekara et al. 2008) สารเหล่านี้ควรถูกใช้ในบริเวณที่มีสัตว์เฉพาะเมื่อมีความ จำ�เป็นเท่านัน และก่อนใช้ควรปรึกษานักวิจยทีสตว์ของเขาอาจถูกคุกคามด้วยสารนี้ ควรบันทึกการใช้สารเคมี ้ ั ่ ั นีและประสานงานกับพนักงานผูจดการดูแลสัตว์ และโดยสอดคล้องกับกฎหมายของรัฐบาลกลาง ของรัฐ และ ้ ้ั กฎข้อบังคับของท้องถิ่น เมื่อเป็นไปได้ควรควบคุมสัตว์ก่อความรำ�คาญด้วยวิธีต่างๆที่ไม่ใช้สารพิษ เช่น การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของแมลง (Donahue et al. 1989; Garg and Donnahue 1989; King and Bennett 1989; Verma 2002) และควรใช้สารที่ไม่มีพิษ (ตัวอย่างเช่น amorphous silica gel) ถ้าใช้กับดัก ควรเป็นวิธีที่มีมนุษยธรรม กับดักซึ่งจับสัตว์ก่อความรำ�คาญที่มีชีวิตต้องให้มีการตรวจดูบ่อยๆ และทำ�ให้ตาย อย่างไม่ทรมานหลังติดกับดัก (Mason and Littin 2003; Meerburg et al. 2008) การดูแลในเวลาฉุกเฉิน วันสุดสัปดาห์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ สัตว์ควรได้รับการดูแลโดยผู้มีคุณสมบัติเหมาะ สมทุกวัน รวมทั้งวันสุดสัปดาห์และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เพื่อพิทักษ์ทั้งความเป็นอยู่ที่ดีของสัตว์และเพื่อตอบ สนองความต้องการของงานวิจัย ต้องให้มีการดูแลฉุกเฉินโดยสัตวแพทย์หลังเวลาทำ�งาน วันสุดสัปดาห์และ วันหยุดนักขัตฤกษ์ ในกรณีฉุกเฉิน บุคลากรผู้ดูแลความปลอดภัยของสถาบันและเจ้าพนักงานดับเพลิง หรือนายตำ�รวจ ควรสามารถติดต่อกับบุคคลผู้รับผิดชอบต่อสัตว์ การปิดประกาศขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อฉุกเฉิน รายชื่อหรือ เบอร์โทรศัพท์ให้เด่นชัดภายในสถานที่สำ�หรับสัตว์ หรือ จัดวางป้ายประกาศไว้ในบริเวณหน่วยรักษาความ ปลอดภัยหรือที่ศูนย์โทรศัพท์ ควรปิดประกาศวิธีการปฏิบัติฉุกเฉินเพื่อดูแลสถานที่หรือปฏิบัติการพิเศษไว้

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 75 อย่างเด่นชัด และบุคลากรควรได้รับการฝึกอบรมเพื่อการปฏิบัติฉุกเฉินสำ�หรับบริเวณเหล่านั้น ควรเตรียม แผนการสำ�หรับภัยพิบัติควรครอบคลุมทั้งต่อบุคลากรและสัตว์ โดยเป็นส่วนหนึ่งของแผนการความปลอดภัย ทังหมดสำ�หรับสถานทีส�หรับสัตว์ ผูจดการหรือสัตวแพทย์ผรบผิดชอบสัตว์ควรเป็นสมาชิกของคณะกรรมการ ้ ่ ำ ้ั ู้ ั ความปลอดภัยที่มีความเหมาะสมของสถาบัน เขาหรือเธอควรเป็น “ผู้ตอบสนองอย่างเป็นทางการ” ของสถาบัน และควรมีส่วนร่วมต่อการตอบสนองต่อภัยพิบัติ (Volgelweid 1998) การจัดการประชากรสัตว์ การทำ�เครืองหมายประจำ�ตัว เอกสารของสัตว์มประโยชน์และมีความผันแปรตังแต่การมีขอมูลอย่างจำ�กัดบน ่ ี ้ ้ ป้ายระบุหน้ากรงสัตว์ไปจนถึงบันทึกอย่างละเอียดสำ�หรับสัตว์แต่ละตัวที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ (Field et al. 2007) วิธีต่างๆ ในการทำ�เครื่องหมายประจำ�ตัวสัตว์ ได้แก่ ป้ายประจำ�ห้อง ชั้น เล้า คอกและกรง โดยการ เขียนรายละเอียด หรือทำ�รหัสแถบสี หรือการทำ�เครืองหมายด้วยความถีคลืนวิทยุ (RFID) ปลอกคอ แผ่นป้าย ่ ่ ่ ประจำ�ตัวต่างๆควรระบุแหล่งที่มาของสัตว์ สายพันธุ์หรือเชื้อสาย ชื่อและที่อยู่ของนักวิจัยผู้รับผิดชอบ วันที่ ที่เกี่ยวข้อง (เช่น วันที่สัตว์มาถึง วันเกิด อื่นๆ) และหมายเลขโปรโตคอลตามความเหมาะสม ควรมีข้อมูล ทางพันธุกรรมถ้าเกี่ยวข้อง ถ้าชื่อเต็มทางพันธุกรรมตามระบบการตั้งชื่อ (ดูตอนต่อไป) มีความยาวมาก เกินไป ควรใช้ค�ย่อต่างๆที่ชัดเจนอย่างสม่�เสมอ ำ ำ สัตว์อาจใส่ปลอกคอ แถบ แผ่นพิมพ์ หรือแผ่นป้ายโลหะ หรือถูกย้อมสี การตัด/เจาะและติดป้ายที่ใบ หู การสัก การฝังเครื่องส่งสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไว้ใต้ผิวหนัง (transponders) และการทำ�ตราเย็น การทำ� เครื่องหมาย สัตว์ฟันแทะขนาดเล็กควรใช้การตัดนิ้วเฉพาะเมื่อไม่มีการทำ�เครื่องหมายประจำ�ตัววิธีอื่นใดที่ ทำ�ได้เหมาะสม วิธีนี้เป็นวิธีที่เหมาะสมสำ�หรับลูกหนูเมาส์แรกเกิดจนถึงอายุ 7 วันเพราะแสดงให้เห็นผลเสีย ต่อพฤติกรรมและความเป็นอยู่ที่ดีของสัตว์ที่อายุนี้เพียงเล็กน้อย (Castelhano-Carlos et al. 2010; Schaefer et al. 2010) โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าการตัดนิ้วสามารถรวมกับวิธีทางพันธุกรรม ควรใช้การปฏิบัติต่างๆอย่าง ไร้เชื้อในทุกกรณี การใช้การระงับปวดควรได้สัดส่วนกับอายุของสัตว์ (Hankenson et al. 2008) การเก็บเอกสาร บันทึกต่างๆทีมขอมูลรายละเอียดพืนฐานเป็นสิงจำ�เป็นสำ�หรับการจัดการฝูงสัตว์ขนาดใหญ่ ่ ี้ ้ ่ ที่มีอายุยืนยาว และควรจัดเก็บสำ�หรับสัตว์แต่ละตัว (Dyke 1993; Field et al. 2007; NRC1979α) เอกสาร เหล่านี้มักแสดงชนิดของสัตว์ เครื่องหมายประจำ�ตัวสัตว์ หมายเลขของพ่อ และ/หรือ แม่ เพศ วันเกิดหรือ วันที่รับมา แหล่งที่มา วันที่จากไปและข้อมูลการกำ�จัดท้ายสุด บันทึกของสัตว์ดังกล่าวเป็นสิ่งจำ�เป็นสำ�หรับ การจัดการทางพันธุกรรมและการประเมินประวัตของฝูงสัตว์ บันทึกต่างๆเรืองการเลียงดูและประวัตการอาศัย ิ ่ ้ ิ อยู่ ประวัติผสมพันธุ์ และรูปแบบทางพฤติกรรมเป็นประโยชน์สำ�หรับการจัดการสัตว์หลายชนิดโดยเฉพาะ อย่างยิ่งสำ�หรับลิง (NRC 1979a) ควรให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องเมื่อมีการเคลื่อนย้ายสัตว์ระหว่างสถาบัน เวชระเบียนสำ�หรับสัตว์แต่ละตัวสามารถมีคุณประโยชน์โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำ�หรับสุนัข แมว ลิง และ ปศุสัตว์ (Sucknow and Doerning 2007) เอกสารเหล่านี้ควรให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องทางคลินิก และการวินิจฉัย

76 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง วันที่ทำ�การฉีดยา ประวัติการทำ�ศัลยกรรมและการดูแลหลังผ่าตัด รายละเอียดการใช้ทดลองและผลการ ชัณสูตรเมื่อเกี่ยวข้อง ข้อมูลพื้นฐานและประวัติต่างๆทางคลินิกช่วยเพิ่มคุณค่าของสัตว์แต่ละตัว ทั้งต่อการผสมพันธุ์และ การใช้ในงานวิจัย ควรมีอยู่พร้อมให้นักวิจัย พนักงานทางสัตวแพทย์ และพนักงานเลี้ยงสัตว์ใช้ การแพร่ขยายพันธุ์ พันธุกรรม และระบบการขานชื่อ ลักษณะเฉพาะทางพันธุกรรมเป็นสิ่งสำ�คัญที่เกี่ยวข้อง กับการคัดเลือกและการจัดการสัตว์เพือใช้ในฝูงเพาะขยายพันธุและในงานวิจยทางชีวการแพทย์ (ดูภาคผนวก ก.) ่ ์ ั ข้อมูลพันธุ์ประวัติเอื้อต่อการคัดเลือกจับคู่ผสมพันธุ์และการทดลองให้ทราบว่า สัตว์ไม่มีความสัมพันธ์กัน หรือมีความเกี่ยวพันกันได้อย่างเหมาะสม ในงานวิจัยทางชีวการแพทย์มีการใช้สัตว์ที่ผสมนอกสายเลือด (outbred) อย่างกว้างขวาง ขนาดของ ประชากรตั้งต้นควรมีจำ�นวนมากพอ เพื่อให้แน่ใจว่าสามารถคงความหลากหลายทางพันธุกรรมของฝูงเพาะ ขยายพันธุ์ได้ในระยะยาว เพื่ออำ�นวยความสะดวกในการเปรียบเทียบข้อมูลการทดลองโดยตรงที่ได้มาจาก สัตว์ทผสมนอกสายเลือด ควรใช้เทคนิคการจัดการทางพันธุกรรมเพือรักษาความแตกต่างทางพันธุกรรม และ ี่ ่ ทำ�ให้การแสดงออกพื้นฐานของพ่อแม่พันธุ์อยู่ในสมดุล (Hartl 2000; Lacy 1989; Poiley 1960; Williams- Blangero 1991) สามารถตรวจสอบการผันแปรทางพันธุกรรมด้วยวิธีการสร้างภาพจำ�ลองด้วยคอมพิวเตอร์ การใช้เครืองหมายทางชีวเคมี (biochemical markers) เครืองหมายดีเอ็นเอ (DNA markers) และการจัดอันดับ ่ ่ ดีเอ็นเอ เครื่องหมายทางภูมิคุ้มกัน (immunological markers) หรือการวิเคระห์พันธุกรรมของตัวแปร ทางสรีรวิทยา (MacCluer et al. 1986; Williams-Blangero 1993) สายพันธุ์ต่างๆ (inbred strains) ของสัตว์หลายชนิด โดยเฉพาะสัตว์ฟันแทะได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อตอบ สนองความจำ�เป็นในการวิจัยที่เฉพาะเจาะจง (Festing 1979; Gill 1980) เมื่อมีการใช้สัตว์สายพันธุ์ต่างๆหรือ ลูกรุ่นที่หนึ่ง (F1) การตรวจสอบสัตว์ที่ผสมสายเลือดชิดเป็นระยะๆ เพื่อดูความเหมือนทางพันธุกรรมเป็น สิ่งสำ�คัญอย่างยิ่ง (Festing 1982; Hedrich 1990) มีวิธีตรวจสอบหลายวิธีที่ได้รับการพัฒนาด้วยการใช้เทคนิค ทางภูมิคุ้มกัน ชีวเคมี และทางโมเลกุล (Cramer1983; Festing 2002; Groen 1977; Hoffman et al. 1980; Russell et al. 1993) ควรสร้างระบบการจัดการที่เหมาะสม (Green 1981;Kempthorne 1957) เพื่อลด การปนเปื้อนซึ่งเป็นผลมาจากการกลายพันธุ์ (mutation) และการผสมพันธุ์ที่ผิดพลาด สัตว์ได้รับการปรับเปลี่ยนจีน (genitically modified animals, GMAs) เป็นตัวแทนของสัตว์ซึ่งถูกใช้ใน การวิจัยที่มีปริมาณเพิ่มขึ้นและต้องจัดให้มีการพิจารณาการจัดการประชากรเป็นพิเศษ จีนที่ถูกผสมผสาน และถูกเปลี่ยนตำ�แหน่งสามารถทำ�ปฏิกิริยากับจีนต่างๆที่มีความจำ�เพาะกับชนิดของสัตว์หรือสายพันธุ์ การเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสมอื่นๆ และปัจจัยทางสภาพแวดล้อมเพื่อเป็นส่วนหน้าที่หนึ่งของตำ�แหน่ง ผสมผสาน ดังนั้น ควรคำ�นึงว่าสัตว์ GMA แต่ละสายเป็นทรัพยากรที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ควรดูแลเพื่อ อนุรกษ์ทรัพยากรเหล่านีให้คงอยูโดยวิธจดการทางพันธุกรรมตามมาตรฐาน ได้แก่ การเก็บรักษารายละเอียด ั ้ ่ ีั เอกสารพันธุ์ประวัติ และการตรวจสอบทางพันธุกรรมเพื่อยืนยันการมีอยู่และการเหมือนกันของจีนที่ได้รับ การเปลี่ยนมา และ การเปลี่ยนแปลงอื่นๆทางพฤติกรรม (Conner 2005) ควรพิจารณาใช้การแช่เยือกแข็ง ตัวอ่อน ไข่หรือตัวอสุจิ เพื่อปกป้องการเปลี่ยนแปลงของจีนในระยะเวลายาวนาน หรือการสูญเสียของ สายพันธุ์สัตว์ GMA โดยอุบัติเหตุ (Conner 2002; Liu et al. 2009)

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 77 รุ่นของสัตว์ต่างๆที่มีการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมหลายแห่งมักเกี่ยวข้องกับการผสมข้ามสาย GMA ที่แตกต่างกัน และสามารถนำ�ไปสู่การผลิตลูกสัตว์ที่มีลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่เป็นสิ่งที่นักวิจัยสนใจ (โดยเป็ น สั ต ว์ ใ นกลุ่ ม ทดสอบหรื อ กลุ่ ม ควบคุ ม ) ตลอดจนลั ก ษณะภายนอกต่ า งๆที่ ไ ม่ ไ ด้ ค าดการณ์ ไว้ การออกแบบกลยุทธ์ในการเพาะพันธุ์อย่างระมัดระวังและการประเมินลักษณะทางพันธุกรรมอย่างถูกต้อง สามารถช่วยลดรุ่นของสัตว์ที่มีลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่ต้องการ (Linder 2003) ควรตรวจสอบลักษณะ ทางพันธุกรรมซึงได้สร้างขึนใหม่อย่างระมัดระวังและมีการจัดการด้วยวิธการกระทำ�เพือให้ประกันสุขภาพและ ่ ้ ี ่ ความเป็นอยู่ที่ดีของสัตว์ และควรรายงานลักษณะภายนอกที่มีผลเสียต่อความเป็นอยู่ที่ดีของสัตว์ให้ IACUC ทราบ การจดบันทึกอย่างถูกต้องด้วยการขานชื่อด้วยวิธีมาตรฐานเมื่อสามารถใช้ได้ ทั้งชื่อสายพันธุ์และ สายพันธุ์ย่อย หรือพื้นฐานทางพันธุกรรมของสัตว์ที่ถูกใช้ในโครงการวิจัยเป็นสิ่งสำ�คัญ (NRC 1979b) สิ่งตีพิมพ์หลายฉบับให้เกณฑ์ต่างๆ ที่ได้ถูกพัฒนาขึ้นโดยคณะกรรมการระหว่างประเทศเพื่อการขานชื่อ มาตรฐานของสัตว์ฟันแทะ และกระต่ายที่ผสมนอกสายเลือด (Festing et al. 1972) สายพันธุ์หนูแรท สายพันธุ์หนูเมาส์และสัตว์ที่ได้รับการเปลี่ยนจีน (FELASA 2007; Linder 2003) นอกจากนี้คณะกรรมการ ระหว่างประเทศเพื่อการขานชื่อมาตรฐานทางพันธุกรรมสำ�หรับจีโนม (Genome) ของหนูเมาส์และหนูแรท ได้จัดทำ�บรรทัดฐานสำ�หรับสัตว์เหล่านี้ให้สามารถสืบค้นได้ทางเครือข่ายอินเตอร์เนต (MGI 2009) สัตว์น้ำ� ความจำ�เป็นต่างๆที่มีอย่างหลากหลายสำ�หรับปลาและสัตว์น้ำ� หรือสัตว์เลื้อยคลานกึ่งน้ำ� และ สัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบกมีแตกต่างกันเท่ากันกับจำ�นวนชนิดของสัตว์ที่ถูกพิจารณา ในบทนี้ตั้งใจให้ผู้จัดการ สถานที่ สัตวแพทย์ และIACUC ได้ข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการระบบของสัตว์น้ำ� (Alworth and Harvey 2007; Alworth and Vazquez 2009; Browne et al. 2007: Browne and Zippel 2007; Denardo 1995; DeTolla et al. 1995; Koeber and Kalishman 2009; Lawrence 2007; Matthew et al. 2002; Pough 2007) คำ�แนะนำ�อย่างเฉพาะเจาะจงมีให้ไว้ในเนื้อหาและบททบทวนวารสาร และสำ �หรับรายละเอียด เพิ่มเติมเรื่องการดูแลสัตว์น้ำ�ชนิดต่างๆ เป็นสิ่งจำ�เป็นที่จะทบทวนวารสารอื่นๆ และปรึกษากับผู้ให้การดูแล ซึ่งมีประสบการณ์ (ดู ภาคผนวก ก.) สภาพแวดล้อมสำ�หรับสัตว์น� ้ำ สภาพแวดล้อมจุลภาคและสภาพแวดล้อมมหภาค เช่นเดียวกันกับระบบสำ�หรับสัตว์บก สภาพแวดล้อมจุลภาคของสัตว์น� คือ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ้ำ ที่อยู่ชิดติดรอบตัวสัตว์ สิ่งล้อมรอบอันดับแรก ได้แก่ ภาชนะขนาดใหญ่ ร่องน้ำ�หรือสระน้ำ�เป็นสิ่งให้แหล่ง ต่างๆ ที่สัตว์สัมผัสโดยตรงและให้ขีดจำ�กัดต่างๆ ของสภาพแวดล้อมรอบซึ่งชิดติดตัวสัตว์ สภาพแวดล้อม

78 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง จุลภาคถูกกำ�หนดลักษณะโดยปัจจัยหลายอย่าง ได้แก่ คุณภาพน้� แสงสว่าง เสียง การสันสะเทือนและอุณหภูมิ ำ ่ สภาพแวดล้อมทางกายภาพของสิ่งล้อมรอบอันดับสอง ได้แก่ ห้องซึ่งเป็นสภาพแวดล้อมมหภาค คุณภาพน้ำ� ส่วนประกอบของน้� (คุณภาพน้�) มีความจำ�เป็นอย่างยิงต่อความเป็นอยูทดของสัตว์น�ถึงแม้วาปัจจัย ำ ำ ่ ่ ี่ ี ้ำ ่ อื่นๆซึ่งมีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมจุลภาคของสัตว์บกก็สัมพันธ์กัน ปัจจัยกำ�หนดคุณภาพน้ำ�และระบบ ยังชีพต่างๆสำ�หรับสัตว์น�จะผันแปรตามชนิดของสัตว์ ช่วงชีวต ชีวมวลทีสนับสนุนและการใช้สตว์ตามทีตงใจ ้ำ ิ ่ ั ่ ั้ (Blaustein et al. 1999; Fisher 2000; Gresen 2004; Overstreet et al. 2000; Schultz and Dawson 2003) ความสำ�เร็จและความเพียงพอของระบบขึนอยูกบความสามารถในการเข้าคูของทีอยูอาศัยในห้องปฏิบตการ ้ ่ ั ่ ่ ่ ั ิ กับความเป็นมาของสัตว์ตามธรรมชาติ (Godfrey and Sanders 2004; Green 2002; Lawrence 2007; Spence et al. 2008) คุณสมบัติของน้ำ�ที่อาจมีผลกระทบต่อความเหมาะสม ได้แก่ อุณหภูมิ ค่าปริมาณความเป็นกรดด่าง ความเป็นด่าง ของเสียพวกไนโตรเจนต่างๆ (แอมโมเนีย ไนไตรท ไนเตรท) ฟอสฟอรัส คลอรีน/โบรมีน โอกาส การเกิด oxidation-reduction ความเป็นตัวนำ�/ความเป็นเกลือ ความกระด้าง (คุณสมบัติทางความเข้มข้นของ สารละลาย/เกลือที่ละลายอยู่) ออกซิเจนที่ละลายอยู่ ความดันของก๊าซทั้งหมด ประจุและโลหะที่มีอยู่ และ นิเวศวิทยาของจุลชีพที่ได้จัดขึ้น ปัจจัยกำ�หนดคุณภาพน้ำ�สามารถส่งผลกระทบโดยตรงต่อความเป็นอยู่ที่ดี ของสัตว์ ความแตกต่างตามระดับวงศ์ ชนิดและอายุของสัตว์อาจจำ�เป็นต้องมีน้ำ�ที่มีคุณภาพ และมีความไว ต่อการเปลี่ยนแปลงปัจจัยกำ�หนดคุณภาพน้�ที่แตกต่างกัน ำ การตรวจวัดคุณสมบัตตางๆของน้�เป็นประจำ� (การทดสอบคุณภาพน้�) เป็นสิงจำ�เป็นอย่างยิงสำ�หรับ ิ ่ ำ ำ ่ ่ การสัตวบาลทีคงที่ ควรกำ�หนดมาตรฐานต่างๆสำ�หรับการยอมรับคุณภาพน้� ปัจจัยกำ�หนดทีจะทดสอบ และ ่ ำ ่ ความถี่ของการทดสอบ ณ ระดับสถาบัน และ/หรือ สำ�หรับวิธีการใช้สัตว์แต่ละเรื่อง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของ โปรแกรมสัตว์น� เจ้าหน้าทีผจดการระบบสัตว์น�จำ�เป็นต้องถูกฝึกอบรมเกียวกับหลักเกณฑ์ทางชีววิทยาของ ้ำ ่ ู้ ั ้ำ ่ คุณสมบัติทางเคมีของน้ำ�ต่างๆที่ตรงประเด็น ปัจจัยกำ�หนดคุณภาพน้ำ�อาจกระทบสุขภาพและความเป็นอยู่ ทีดของสัตว์ได้อย่างไร การตรวจสอบผลปัจจัยกำ�หนดคุณภาพน้�ได้อย่างไร และคุณภาพน้�อาจส่งผลกระทบ ่ ี ำ ำ การทำ�งานของระบบยังชีพได้อย่างไร (เช่น การกรองทางชีวภาพ) ปัจจัยกำ�หนดเฉพาะต่างๆ และความถีของการทดสอบอาจผันแปรอย่างกว้างขวาง (ขึนอยูกบชนิดของ ่ ้ ่ั สัตว์ ช่วงชีวิต ระบบ และปัจจัยอื่นๆ) จากการตรวจบางจุดไม่บ่อยนักไปจนถึงการตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง ระบบต่างๆที่ได้ทำ�ขึ้นเมื่อเร็วๆนี้ และ/หรือ ประชากรหรือการเปลี่ยนแปลงวิธีดำ�เนินการทางสัตวบาล อาจ ต้องจัดให้มการตรวจสอบบ่อยขึนเพือระบบนิเวศน์ทมเสถียรภาพ สภาพแวดล้อมทีคงทีอาจต้องมีการทดสอบ ี ้ ่ ี่ ี ่ ่ ไม่บ่อยนัก สารพิษจากส่วนประกอบต่างๆ ของระบบอาจต้องมีการพิจารณาเป็นพิเศษโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ระบบที่สร้างขึ้นใหม่ เช่น การกรองสารเคมีต่างๆ ออกทิ้งจากวัสดุการก่อสร้าง คอนกรีต สารประกอบใน รอยต่อ และสารผนึกรอยต่อ (DeTolla et al. 1995; Nickum et al. 2004) คลอรีนและคลอรามีนต่างๆ ถูกใช้ เพื่อฆ่าเชื้อน้ำ�สำ�หรับให้มนุษย์บริโภค หรือฆ่าเชื้ออุปกรณ์เป็นพิษต่อปลาและสัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบก

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 79 และจะต้องถูกกำ�จัดออก หรือปรับให้มีค่าเป็นกลางก่อนนำ�มาใช้ในระบบของสัตว์น� (Thompkins and Tsai ้ำ 1976; Wedemeyer 2000) ระบบยังชีพ คำ�ว่า ระบบยังชีพ หมายถึงโครงสร้างทางกายภาพทีถกใช้เพือบรรจุน�และสัตว์ ตลอดจนอุปกรณ์เสริม ู่ ่ ้ำ ที่ใช้เพื่อขับเคลื่อน และ/หรือ บำ�บัดน้� ระบบยังชีพต่างๆ อาจง่าย (เช่น ภาชนะเพื่อบรรจุสัตว์และน้�) หรือ ำ ำ ซับซ้อนอย่างมาก (เช่น ระบบหมุนเวียนน้�อัตโนมัติสมบูรณ์) รูปแบบของระบบยังชีพที่ถูกใช้ขึ้นอยู่กับปัจจัย ำ หลายอย่าง ได้แก่ ที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติของสัตว์ อายุ/ขนาดของสัตว์ จำ�นวนสัตว์ที่อาศัยอยู่ การจัดให้มี และคุณสมบัติของน้ำ�และลักษณะของการวิจัย ระบบยังชีพต่างๆ ตามแบบทั่วๆไปมีอยู่สามประเภท ได้แก่ ระบบหมุนเวียน ซึ่งน้ำ� (ทั้งหมดหรือบาง ส่วน) ถูกเคลื่อนที่รอบระบบหนึ่ง ระบบไหลผ่าน ซึ่งน้ำ�ถูกแทนที่ตลอดเวลา หรือ ระบบสถิต ซึ่งน้�อยู่นิ่ง ำ กับที่และถูกเติมให้เต็ม หรือถูกเปลี่ยนเป็นครั้งคราว อาจเป็นน้ำ�จืด น้ำ�กร่อย หรือน้ำ�เค็ม และถูกรักษา ไว้ที่อุณหภูมิเฉพาะตามความจำ�เป็นต่างๆตามชนิดของสัตว์ แหล่งน้ำ�สำ�หรับระบบเหล่านี้ตามแบบทั่วๆไปมีอยู่สี่ประเภท ได้แก่ ระบบน้ำ�เสียที่ผ่านการบำ�บัดแล้ว (เช่น น้ำ�ประปาเทศบาล) น้ำ�จากพื้นผิว (เช่น แม่น้ำ� ทะเลสาป หรือ มหาสมุทร) น้�ที่สงวนไว้ (เช่น บ่อบาดาล ำ หรือ บ่อน้ำ�แร่) หรือน้ำ�สังเคราะห์ (เช่น กระบวนการไหลผ่านเยื่อบางแบบสวนทาง หรือการกลั่น) น้ำ�เค็ม สังเคราะห์อาจทำ�ได้โดยการเพิ่มเกลือให้แหล่งน้ำ�จืด การเลือกแหล่งน้ำ�ควรยึดพื้นฐานการมีจัดส่งให้ได้ อย่างสม่�เสมอหรือคงที่ ระดับความปลอดภัยทางชีวภาพที่ต้องจัดให้มี ปริมาตรน้�ที่จ�เป็น การเลือกชนิด ำ ำ ำ ของสัตว์ และการพิจารณาต่างๆ ทางการวิจัย ระบบหมุนเวียนเป็นระบบธรรมดาในการจัดสถานที่ห้องปฏิบัติการต่างๆ ซึ่งระบบที่อยู่อาศัยอย่าง หนาแน่นมักมีความจำ�เป็น ระบบหมุนเวียนโดยส่วนใหญ่ถูกออกแบบเพื่อแลกเปลี่ยนปริมาณน้ำ�โดยเฉพาะ ต่อหน่วยเวลา และนำ�น้�ใหม่เข้าสูระบบเป็นระยะๆ ระบบเหล่านีมความก้าวหน้าทางเครืองกลมากทีสด บรรจุ ำ ่ ้ ี ่ ุ่ ตัวกรองชีวภาพ (biofilters) ซึ่งส่งเสริมการเปลี่ยนแอมโมเนียไปเป็นไนเตรทและไนไตรท ผ่านแบคทีเรีย ทีสามารถออกซิไดซ์แอมโมเนีย ตัวกำ�จัดโปรตีน (เครืองแยกฟอง foam fractionators) และมีแผ่นกรองอนุภาค ่ ่ เพื่อแยกโปรตีนที่ละลายและไม่ละลายน้ำ� และเศษผง มีแผ่นกรองคาร์บอนเพื่อแยกสารเคมีที่ละลายในน้ำ� และมี ห น่ ว ยอุ ล ตร้ า ไวโอเลตหรื อ โอโซนเพื่ อ ฆ่ า เชื้ อ ในน้ำ � โดยทั่ ว ไประบบมั ก มี ส่ ว นประกอบต่ า งๆ เพื่อให้ออกซิเจนและลดก๊าซในน้ำ� (เพื่อลดการอิ่มตัวของก๊าซ) และเพื่อเพิ่มความร้อนหรือทำ�ให้น้ำ�เย็นลง ตลอดจนระบบการเติมตามขนาดโดยอัตโนมัตเพือรักษาค่าความเป็นกรดด่างและค่าการเหนียวนำ�ไฟฟ้าอย่าง ิ ่ ่ เหมาะสม ส่วนประกอบทังหมดอาจไม่มอยูในทุกระบบและส่วนประกอบบางอย่างอาจทำ�หน้าทีหลายๆอย่าง ้ ี ่ ่ ระบบหมุนเวียนอาจถูกออกแบบให้จัดส่งน้ำ�ที่ได้บำ�บัดแล้วจากแหล่งหนึ่งไปยังถังเดี่ยวหลายๆถัง ดังเช่น ในกรณี ระบบ “ชั้น” ที่ใช้ส�หรับปลาม้าลาย (Danio rerio) และ Xenopus laevis และ X. tropicalis ดังตัวอย่าง ำ ต่างๆ (Fisher 2000; Koeber and Kalishman 2009; Schultz and Dawson 2003)

80 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง การพัฒนาและการบำ�รุงรักษาตัวกรองชีวภาพเป็นสิงสำ�คัญสำ�หรับการจำ�กัดการสะสมแอมโมเนียและ ่ ไนไตรทในระบบหมุนเวียน ตัวกรองชีวภาพต้องมีขนาดพอเพียง (เช่น มีปริมาณแบคทีเรียอย่างพอเพียง) เพือ ่ สามารถจัดการภาระทางชีวภาพ (ระดับของเสียที่มีไนโตรเจน) ที่ผ่านเข้ามาในระบบ จุลชีพต่างๆที่ตัวกรอง ชีวภาพส่งเสริมต้องการปัจจัยกำ�หนดคุณภาพน้�ทีแน่นอน การเติมออกซิเจนสภาพแวดล้อมสัตว์น้ำ� (เช่น การ ำ ่ เปลี่ยนแปลงระดับความเข้มข้นของเกลือ อุณหภูมิ และค่าความเป็นกรดด่างอย่างรวดเร็ว) ตลอดจนการเพิ่ม สารเคมีหรือยาปฏิชวนะต่างๆ อาจมีผลกระทบอย่างสำ�คัญต่อนิเวศวิทยาของจุลชีพของระบบ และต่อคุณภาพ ี น้ำ�และความเป็นอยู่ที่ดีของสัตว์ ถ้ามีการเสียหาย การฟื้นตัวของตัวกรองชีวภาพอาจใช้เวลาหลายสัปดาห์ (Fisher 2000) การเปลี่ยนแปลงปัจจัยกำ�หนดคุณภาพน้ำ� (เช่น ค่าความเป็นกรดด่าง แอมโมเนียและไนไตรท) อาจเกิดผลเสียต่อสุขภาพสัตว์และประสิทธิภาพของตัวกรองชีวภาพ ดังนั้นต้องจัดให้มีการตรวจสอบบ่อย มากกว่าสำ�หรับสัตว์ที่มีความไวต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำ�นอกค่าตามที่กำ�หนดในช่วงแคบ สามารถใช้ระบบไหลผ่านตลอดเวลา หรือ ไหลผ่านตามเวลาที่กำ�หนด เมื่อมีน�ให้อย่างเหมาะสมเพื่อ ้ำ สนับสนุนสัตว์ทให้อาศัยอยู่ (เช่น ในสถานทีเพาะพันธุสตว์น�) ระบบเหล่านีอาจใช้น�ปริมาณมากมหาศาลถ้า ี่ ่ ์ ั ้ำ ้ ้ำ ไม่ถูกใช้ซ� น้ำ�อาจถูกใช้ตาม “สภาพเดิม” หรือผ่านกระบวนการก่อนถูกใช้ ตัวอย่างเช่น โดยการกำ�จัดตะกอน ้ำ ก๊าซทีละลายอยู่ คลอรีน หรือ คลอรามีนทีมปริมาณมากเกินไป และโดยการฆ่าเชือด้วย อัลตร้าไวโอเลต หรือ ่ ่ ี ้ โอโซน (Fisher 2000; Overstreet et al. 2000) ระบบสถิตมีหลายขนาดตั้งแต่ถังขนาดเล็กไปจนถึงสระบนดิน ขนาดใหญ่ และอาจใช้เครื่องจักรกลเพื่อหมุนเวียนน้ำ�และให้ออกซิเจน อุณหภูมิ ความชื้น และ การระบายอากาศ แนวคิดโดยทัวไปทีได้อภิปรายไว้ในตอนสัตว์บกนำ�ไปใช้กบการจัดสภาพสัตว์น�ได้ดวย สัตว์น�และสัตว์ ่ ่ ั ้ำ ้ ้ำ กึ่งน้ำ�โดยส่วนใหญ่ (ปลา สัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบก และสัตว์เลื้อยคลาน) ที่ถูกใช้ในการวิจัยเป็นสัตว์เลือดเย็น ซึ่งโดยส่วนใหญ่พึ่งพาอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมเพื่อรักษากระบวนการทางสรีรวิทยา ได้แก่ กระบวนการของ การสันดาป การสืบพันธุ์ และพฤติกรรมการกินอาหาร (Brown and Edwards 2003; Fraile et al. 1989; Maniero and Carey 1997: Pough 1991) การจัดอุณหภูมิตามความต้องการทำ�ตามพื้นฐานประวัติตาม ธรรมชาติของสัตว์ และสามารถผันแปรตามช่วงชีวิต (Green 2002; Pough 1991; Schultz and Dawson 2003) อุณหภูมิน้ำ�อาจถูกควบคุมที่แหล่งของมัน ภายในระบบยังชีพ หรือโดยการควบคุมสภาพแวดล้อม มหภาค ระบบกึ่งเปิดบางระบบ (เช่น ร่องน้ำ�ใกล้แม่น้ำ�) พึ่งพาอุณหภูมิของแหล่งน้ำ� และดังนั้น อุณหภูมิของ น้ำ�ที่อยู่ในสิ่งล้อมรอบจะผันแปรตามแหล่งของน้� ำ ปริมาตรของน้�ที่อยู่ในห้องสามารถส่งผลต่ออุณหภูมิ การคงที่ของอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ของ ำ ห้อง เช่นเดียวกันนี้ ปริมาณความร้อนที่เกิดจากระบบทำ�ความเย็น/ความร้อนสามารถมีผลต่อความคงที่ของ อุณหภูมของสภาพแวดล้อมมหภาค จำ�เป็นต้องออกแบบระบบปรับอากาศเพือชดเชยปริมาณความร้อนและ ิ ่ ความชื้นเหล่านี้ โดยทั่วไปความชื้นสัมพัทธ์ของสภาพแวดล้อมมหภาคถูกกำ�หนดโดยประเด็นความปลอดภัย และความสบายของบุคลากร เนื่องจากความชื้นของห้องไม่วิกฤตสำ�หรับสัตว์น้ำ� อย่างไรก็ดี ความชื้นที่มีมาก

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 81 เกินไปอาจเป็นผลให้เกิดการควบแน่นจนมีหยดน้�จับบนฝาผนัง ฝ้าเพดานและฝาถังต่างๆ ซึงอาจส่งเสริมการ ำ ่ เจริญเติบโตของจุลชีพ และเป็นแหล่งของการปนเปื้อน หรือสร้างสภาพแวดล้อมที่โน้มนำ�การเกิดสนิม ใน สภาพแวดล้อมทีแห้ง (เช่น การให้ความร้อนในตัวอาคารระหว่างฤดูหนาว หรือการให้อยูกลางแจ้งในบางสภาพ ่ ่ อากาศ/ฤดูกาล) อัตราการระเหยอาจมีมากขึน อาจทำ�ให้ตองจัดเพิมน้�ปริมาณมากเข้าสูระบบ และการตรวจ ้ ้ ่ ำ ่ สอบการเพิมขึนของระดับความเข้มข้นของเกลือ/ค่าการเหนียวนำ�ไฟฟ้า การปนเปือนหรือความผิดปกติอนๆ ่ ้ ่ ้ ื่ ของคุณภาพน้ำ� สัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบกและสัตว์เลื้อยคลานบางชนิดอาจจำ�เป็นต้องมีความชื้นในสภาพ แวดล้อมจุลภาคเพิ่มขึ้น (ความชื้นสัมพัทธ์มากกว่า 50-70%) ซึ่งอาจต้องจัดให้มีการรักษาความชื้นของสภาพ แวดล้อมมหภาคระดับสูงขึ้น (Pough 1991; Claire et al. 2005) อัตราการแลกเปลียนอากาศของห้องตามแบบฉบับมักถูกครอบคลุมโดยปริมาณความร้อนและความชืน ่ ้ สำ�หรับปลาและสัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบกซึ่งอยู่ในน้ำ�บางชนิด คุณภาพของอากาศในสภาพแวดล้อมจุลภาค อาจมีผลต่อคุณภาพน้� (เช่น การแลกเปลี่ยนก๊าซ) แต่อาจลดความสำ�คัญลงได้ด้วยการออกแบบระบบยังชีพ ำ อย่างเหมาะสม อนุภาคและสารต่างๆที่อยู่ในอากาศ (เช่น สารอินทรีย์ที่ระเหยได้ และ แอมโมเนีย) อาจ ละลายในน้�ทีอยูในถังและมีผลต่อสุขภาพของสัตว์ (Koerber and Kalishman 2009) เพราะการเติมออกซิเจน ำ ่ ่ ในน้ำ�สามารถนำ�การแพร่เชื้อต่างๆที่ท�ให้เกิดโรคในสัตว์น้ำ� (เช่น โปรโตซัว แบคทีเรีย) ที่อยู่ภายในหรือแพร่ ำ ไปทั่วทั้งอาคาร ขบวนการนี้ควรถูกลดให้เหลือน้อยที่สุดเท่าที่ทำ�ได้ (Roberts-Thomson et al. 2006; Woost- er and Bowser 2007; Yanong 2003) แสงสว่าง สัตว์น้ำ�และสัตว์กึ่งน้ำ�มักไวต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ได้แก่ ช่วงเวลามีแสงสว่าง (photoperiod) ความ เข้มแสงและความยาวคลืน (Brenner and Brenner 1969) คุณสมบัตของแสงจะผันแปรตามชนิดของสัตว์ ความ ่ ิ เป็นอยู่ตามธรรมชาติของสัตว์เหล่านั้น และงานวิจัยที่ก�ลังทำ� แนะนำ�ให้เปลี่ยนแปลงแสงในห้องที่ละเล็กที ำ ละน้อย เพราะการเปลี่ยนความเข้มแสงอย่างทันทีสามารถกระตุ้นการตอบสนองในปลาและอาจมีผลให้เกิด การบาดเจ็บ สัตว์น้ำ�และสัตว์กึ่งน้ำ�บางชนิดจำ�เป็น ต้องได้แสงครบทุกแถบสี และ/หรือ โคมไฟให้ความร้อน เพื่อเสริมความร้อนให้การทำ�หน้าที่ทางสรีรวิทยาให้มีอย่างพอเพียง (เช่น เต่าน้� ที่ต้องจัดให้มีบริเวณพื้นที่ ำ ในการอาบแดด Pough 1991) เสียงและการสั่นสะเทือน แนวคิดโดยทัวไปทีได้อภิปรายไว้ในตอนสัตว์บกนำ�ไปใช้กบการจัดสภาพสัตว์น�ได้ดวย สัตว์เหล่านีอาจ ่ ่ ั ้ำ ้ ้ มีความไวต่อเสียงและการสั่นสะเทือนซึ่งสามารถผ่านทะลุน้ำ�ได้โดยฉับพลัน สัตว์แต่ละชนิดตอบสนองแตก ต่างกัน และปลาหลายชนิดสามารถปรับตัวต่อเสียงและการสั่นสะเทือน ถึงแม้ว่าสิ่งเหล่านี้อาจทำ�ให้เกิดผลที่ ไม่แสดงอาการให้ปรากฎออกทางคลินิก (Smith et al. 2007) การสั่นสะเทือนที่พื้นสามารถถูกลดด้วยการใช้

82 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง แผ่นรองแยกตัววางใต้ชนวางสัตว์น� สถานทีตางๆ อาจเลือกตัดสินใจวางส่วนประกอบสำ�คัญของระบบยังชีพ ั้ ้ำ ่ ่ (เช่น เครื่องกรอง เครื่องสูบน้ำ� และเครื่องกรองชีวภาพ) นอกห้องสัตว์เพื่อลดการสั่นสะเทือนและเสียง ที่อยู่อาศัยสำ�หรับสัตว์น� ้ำ สภาพแวดล้อมจุลภาค (สิ่งล้อมรอบอันดับแรก) สิ่งล้อมรอบอันดับแรก (ถัง ร่องน้ำ� สระ หรือ คอกที่ใส่น้ำ�และสัตว์) ระบุขีดจำ�กัดของสภาพแวดล้อมที่ อยู่ชิดตัวสัตว์ ในสภาพการจัดเตรียมการวิจัย สิ่งล้อมรอบอันดับแรก ได้แก่ ให้มีสรีรวิทยาตามปกติและสิ่งจำ�เป็นสำ�หรับสัตว์ ได้แก่ หน้าที่การขับถ่าย การควบคุมและรักษา อุณหภูมิของร่างกาย การเคลื่อนไหวตามปกติและการปรับท่าทางต่างๆ และเมื่อยอมให้มีการ สืบพันธุ์ เช่นในสัตว์เลื้อยคลานเลือดเย็นบางชนิดและสัตว์สะเทินน้ำ �สะเทินบก ความแตกต่าง ของอุ ณ หภู มิ ใ นสภาพแวดล้ อ มจุ ล ภาคอาจเป็ น สิ่ ง จำ � เป็ น สำ � หรั บ การทำ � หน้ า ที่ ท างสรี ร วิ ท ยา อย่างแน่นอน เช่น การให้อาหารและการย่อยอาหาร ให้มีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับสัตว์ชนิดเดียวกันที่เข้ากันได้ (เช่น ปลาที่มีการอยู่เป็นฝูง) ให้สภาพแวดล้อมที่สมดุลและคงที่ซึ่งส่งเสริมความจำ�เป็นทางสรีรวิทยาของสัตว์ ให้คุณภาพน้ำ �และคุณสมบัติต่างๆ ที่เหมาะสมและยอมให้มีก ารตรวจสอบ การเติมให้เต็ม และการเติมอีก และการเปลี่ยนน้� ำ ให้เข้าถึงการให้อาหารและการกำ�จัดอาหารเหลือออกทิ้งได้ จำ�กัดการหนี หรือการติดกับโดยอุบัติเหตุของสัตว์หรือส่วนระยางค์แขนขาของร่างกาย ปราศจากขอบแหลมคม และ/หรือ ส่วนยื่นต่างๆ ที่สามารถทำ�ให้เกิดการบาดเจ็บ สามารถสังเกตอาการสัตว์ โดยมีการรบกวนน้อยที่สุด สร้างด้วยวัสดุที่ไม่มีพิษที่ไม่ปล่อยสารพิษ หรือ สารเคมีต่างๆไปสู่สภาพแวดล้อมสัตว์น้ำ� ปลอดภัยจากไฟฟ้าทั้งทางตรงและทางอ้อม การเพิ่มพูนสภาพแวดล้อมและการอยู่ร่วมกันเป็นสังคม กลยุทธ์ต่างๆสำ�หรับการเพิ่มพูนสภาพแวดล้อมสำ�หรับสัตว์น้ำ�หลายชนิดยังไม่ถูกกำ�หนดอย่างชัดเจน สิ่งที่เกี่ยวข้องต่างๆของความขาดแคลนเปรียบเทียบกับสภาพแวดล้อมที่มีสิ่งเพิ่มพูนที่มีต่อความเป็นอยู่ที่ดี ของสัตว์ การวิจัยทั่วๆไป การเจริญเติบโตและการพัฒนาการยังไม่เป็นที่ตระหนัก หรือไม่ถูกกำ�หนด เป็นความจริงสำ�หรับการให้สัตว์หลายชนิดอยู่ตัวเดียวเปรียบเทียบกับการอยู่เป็นกลุ่ม (สังคม) สิ่งเพิ่มพูน เมื่อถูกใช้ ควรทำ�ให้สัตว์แสดงพฤติกรรมตามชนิดของสัตว์ และควรถูกประเมินความปลอดภัยและการถูกใช้ เป็นประโยชน์

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 83 โดยทั่วไป ปลาชนิดที่ให้อยู่เป็นฝูงกับปลาตัวอื่นที่เข้ากันได้ และสัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบกโดยเฉพาะ อย่างยิ่งจำ�พวกกบอาจถูกเลี้ยงให้อยู่ร่วมกัน ความก้าวร้าวเกิดขึ้นในสัตว์น้ำ� (van de Nieuwegiessen et al. 2008; Speedie and Gerlai 2008) และเช่นเดียวกันกับสัตว์บก อาจจำ�เป็นต้องตรวจสอบและปฏิบัติ อย่างเหมาะสม (Matthews et al 2002; Torreilles and Green 2007) สัตว์บางชนิดจำ�เป็นต้องให้มีสิ่งประกอบ (เช่น ก้อนกรวด) เพือการสืบพันธุ์ หรือมีสงประกอบจำ�เป็นอย่างหลากหลายเพือแสดงพฤติกรรมพืนฐานต่างๆ ่ ิ่ ่ ้ และการรักษาสุขภาพ (Overstreet et al. 2000) ได้มีรายงานการเพาะขยายพันธุ์ประสบความสำ�เร็จเพิ่มขึ้น ในสภาพแวดล้อมที่มีการเพิ่มพูนแต่จ�เป็นต้องมีการวิจัยเพิ่มเติมในด้านนี้ (Carfagnini et al 2009) สำ�หรับ ำ สัตว์หลายชนิด (รวมทั้ง เช่น X. laevis) สิ่งกีดกั้นกำ�บัง สิ่งหลบภัยต่างๆ และร่มเงาเป็นสิ่งเหมาะสม (Alworth and Vasquez 2009; Torreilles and Green 2007) สัตว์เลื้อยคลานกึ่งน้�ส่วนใหญ่ใช้ชีวิตบางเวลา ำ บนพื้นดิน (การตากแดด การกินอาหาร การย่อยอาหารและการวางไข่) และควรจัดบริเวณบนบกให้ตาม ความเหมาะสม ร่มเงา ที่พักกลางแจ้งและการอยู่อาศัยตามธรรมชาติ สัตว์ต่างๆที่ถูกใช้ในสถานเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ�มักให้อาศัยอยู่ในสภาวะซึ่งคล้ายการเลี้ยงเพื่อการเกษตร และอาจเลี้ยงกลางแจ้ง และ/หรือ ในร่องน้ำ�ที่มีการบังแดด สระน้ำ�หรือบ่อโดยมีประชากรสัตว์อยู่อย่างหนา แน่น ในสภาวะเหล่านีทมสตว์ผลาตามธรรมชาติและมีการตายเกิดขึน การตรวจวัด “จำ�นวนสัตว์” ด้วยเทคนิค ้ ี่ ี ั ู้ ่ ้ ตามมาตรฐานการเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ� เช่น การวัดผลผลิตมวลรวมชีวภาพสุดท้าย อาจมีความเหมาะสม (Borski and Hodson 2003) พื้นที่ คำ�แนะนำ�พื้นที่ และ ความหนาแน่นของที่อยู่ผันแปรอย่างมากมายตามชนิดสัตว์ อายุ/ขนาดของสัตว์ ระบบยังชีพ และชนิดของการวิจัย (Browne et al. 2003; Green 2009; Gresens 2004; Hilken et al. 1995; Matthews et al 2002) ในสหรัฐฯ ตัวอย่างเช่น ปลาม้าลายโตเต็มวัย (Danio rario) ในสภาวะการเลี้ยงในห้อง ปฏิบัติการต่างๆ มักกำ�หนดให้ปลาโตเต็มวัย 5 ตัวต่อน้�หนึ่งลิตร (Matthews et al 2002) แต่ความหนาแน่น ำ นี้จะแปรเปลี่ยนเพื่อการแพร่พันธุ์และเลี้ยงปลาอายุน้อยกว่า (Matthews et al 2002) คำ�แนะนำ�นี้ไม่มีความ จำ�เป็นอย่างเฉพาะเจาะจงสำ�หรับปลาชนิดอืนๆ และอาจเปลียนแปลงเมือการวิจยก้าวหน้าต่อไป (Lawrence ่ ่ ่ ั 2007) X. laevis ที่โตเต็มวัยอาจเลี้ยงหนึ่งตัวในที่มีน� 2 ลิตร (NRC 1974) แต่มีการใช้ระบบการเลี้ยงต่างๆ ้ำ ในสภาพการวิจัยอย่างมากมาย (Green 2009) สถาบันต่างๆ นักวิจัย และสมาชิก IACUC ควรประเมิน ความจำ�เป็นของสัตว์แต่ละชนิดตามความเหมาะสม ขณะทำ�การประเมินโปรแกรมและการตรวจสถานที่ และต่อด้วยการทบทวนงานวิจัยที่กำ�ลังดำ�เนินอยู่ในบริเวณเหล่านี้

84 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง การจัดการสัตว์น้ำ� การจัดการพฤติกรรม และ การอยู่ร่วมกันเป็นสังคม การประเมินสัตว์น้ำ�และสัตว์กึ่งน้ำ�ด้วยตาเป็นวิธีที่คุ้นเคยกันดีในการตรวจสอบดูแล การจับต้องสัตว์ ชนิดเหล่านี้ควรกระทำ�น้อยที่สุดเท่าที่จำ�เป็น (Bly et al. 1997) เพื่อหลีกเลี่ยงการทำ�ลายผิวหนังชั้นเยื่อเมือก และผลเสียต่างๆ ต่อการทำ�หน้าที่ของภูมิคุ้มกัน (De Veer et al. 2007; Subramanian et al. 2007; Tsutsui et al. 2005) เทคนิคการจับสัตว์อย่างเหมาะสมมีมากมายขึนกับชนิดของสัตว์ อายุ/ขนาด ระบบทีอยูและความ ้ ่ ่ จำ�เป็นของการวิจัยอย่างจำ�เพาะ (Fisher 2000; Matthews et al. 2002; Overstreet et al. 2000) ควรกำ�หนด เทคนิคเหล่านี้ ณ สถานที่ หรือที่ระดับวิธีการ ถุงมือลาเท็กซ์มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเป็นพิษในสัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบกบางชนิด (Gutleb et al. 2001) การใช้ตาข่ายอย่างเหมาะสมโดยบุคลากรทีฝกฝนอย่างดีสามารถลดการทำ�ลายผิวหนังและความเครียด ตาข่าย ่ึ ควรถูกทำ�ความสะอาดและฆ่าเชืออย่างเหมาะสมถ้าใช้ในระบบทีแตกต่างกัน และควรจัดมีตาข่ายทีจดไว้เฉพาะ ้ ่ ่ั สำ�หรับสัตว์ที่มีสถานะสุขภาพเช่นเดียวกันเมื่อทำ�ได้ การออกกำ�ลังกายและระดับการเคลื่อนไหวสำ�หรับสัตว์น้ำ�ถูกอธิบายไว้อย่างจำ�กัด แต่การตัดสินใจ ที่ได้มีการอธิบายไว้แล้วอาจคาดการณ์ได้จากการศึกษาพฤติกรรมของสัตว์ชนิดเดียวกัน หรือชนิดคล้ายคลึง กันในธรรมชาติ (Spence et al. 2008) สัตว์น้ำ�บางชนิดว่ายน้ำ�ตลอดเวลาไม่หยุดพัก ชนิดอื่นๆอาจพักตลอด หรือโดยส่วนใหญ่ของทั้งวัน อัตราการไหลของน้ำ�และการให้ที่หลบภัย หรือที่พักเป็นแท่นยกพื้นให้แห้ง (เช่น สำ�หรับสัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบก) จำ�เป็นต้องมีความเหมาะสมสำ�หรับชนิดของสัตว์ และช่วงชีวิตของมัน การสัตวบาล อาหาร หลักเกณฑ์ทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับสัตว์บกนั้นใช้ได้กับสัตว์น้ำ� อาหารควรถูกเก็บด้วยวิธีที่เหมาะสมเพื่อ ถนอมคุณค่าทางโภชนาการ ลดการปนเปื้อนให้มีน้อยที่สุด และป้องกันสัตว์ก่อความรำ�คาญไม่ให้เข้าถึง วิธี การขนส่งอาหารควรมั่นใจว่าสัตว์จะได้รับอาหารในช่วงเวลาที่เหมาะสม ในขณะที่ลดการก้าวร้าวของสัตว์ ในขณะให้อาหารและลดการสูญเสียสารอาหาร โดยวิธีการให้อาหารและความถี่อาจผันแปรอย่างมากขึ้นกับ ชนิดของสัตว์ อายุ/ขนาด และชนิดของระบบยังชีพ สัตว์น�และสัตว์กงน้�หลายชนิดไม่ได้ให้อาหารตลอดเวลา ้ำ ึ่ ำ ในถัง และในบางชนิดไม่ได้ให้อาหารทุกวัน อาหารที่มีขายในท้องตลาด (เช่น อัดก้อน เม็ดละเอียด) สำ�หรับสัตว์บางชนิด และอายุการเก็บควรขึ้น กับคำ�แนะนำ�ของผู้ผลิต หรือทำ�ตามวิธีปฏิบัติทั่วไปที่ยอมรับได้ ในระบบสัตว์น้ำ�ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในการเลี้ยงปลา หรือการดูแลรักษาสัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบกและสัตว์เลื้อยคลานบางชนิด มีการใช้อาหาร มีชีวิตต่างๆ (เช่น ตัวอ่อนของ Artemia sp. ตัวจิ้งหรีด หรือตัวหนอนอ่อนของแมลงปีกแข็ง) เป็นธรรมดา ควร รักษาและจัดการแหล่งต่างๆ ของอาหารสดเพื่อแน่ใจว่าจัดส่งได้คงที่ และมีสุขภาพและความเหมาะสมของ สิ่งมีชีวิตสำ�หรับเป็นอาหาร ควรดูแลให้มีอาหารครบสูตรเพื่อหลีกเลี่ยงการขาดสารอาหาร

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 85 น้ำ� (ดูบทที่กล่าวถึงคุณภาพน้ำ�ด้วย) สัตว์น้ำ�จำ�เป็นต้องเข้าถึงน้ำ�ที่มีสภาวะเหมาะสม สัตว์น้ำ�แท้จริงได้รับ น้ำ�จากที่อยู่อาศัยของมัน หรือซึมผ่านเหงือกหรือผิวหนัง สัตว์สะเทินน้�สะเทินบกและสัตว์เลื้อยคลานกึ่งน้ำ� ำ บางชนิดอาจจำ�เป็นต้องมี “อ่าง” น้�สำ�หรับจุ่มตัวและกินน้ำ� และควรมีคุณภาพน้ำ�เหมาะสม (ดูบทสัตว์บก) ำ คลอรีนหรือคลอรามีนต่างๆ อาจมีอยู่ในน้ำ�ประปาที่ระดับซึ่งสามารถมีพิษต่อสัตว์บางชนิด วั ส ดุ ร องก้ น บ่ อ (Substrates) วั ส ดุ ร องก้ น บ่ อ ต่ า งๆ สามารถให้ ก ารส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพชี วิ ต ของสั ต ว์ น้ำ � โดยการสนับสนุนพฤติกรรมที่เหมาะสมกับชนิดของสัตว์ เช่น การขุดโพรง การคุ้ยหาอาหาร หรือเอื้อต่อ การวางไข่ (Fisher 2000, Matthews et al 2002; Overstreet et al 2000) วัสดุต่างๆอาจเป็นส่วนเสริมที่จ�เป็น ำ ยิ่งของระบบยังชีพโดยการให้พื้นที่เพิ่มขึ้นสำ�หรับแบคทีเรียที่เปลี่ยนไนเตรทเป็นไนไตรท (เช่น ระบบต่างๆ ที่มีการกรองใต้ก้อนกรวด) และจำ�เป็นต้องทำ�กาลักน้ำ�อย่างสม่�เสมอ (เช่น การทำ�ความสะอาดน้�) เพื่อกำ�จัด ำ ำ เศษขยะอินทรีย์ ควรประเมินการออกแบบระบบและความจำ�เป็นของสัตว์เพื่อกำ�หนดปริมาณ ชนิด และการ มีวัสดุรองก้นบ่อ การสุขาภิบาล การสุขาภิบาลของสภาพแวดล้อมสัตว์น้ำ�ในระบบหมุนเวียนคือการให้โดยผ่านการออกแบบ อย่างเหมาะสมและรักษาระบบยังชีพให้คงอยู่ การกำ�จัดของเสียสิ่งสกปรกที่เป็นของแข็งออกจากพื้นของ สิ่งล้อมรอบเป็นประจำ�และการเปลี่ยนน้ำ�เป็นระยะ แนวคิดพื้นฐานของการสุขาภิบาล (เช่น ให้สภาวะต่างๆ ซึ่งเอื้อต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีของสัตว์) เป็นเช่นเดียวกันทั้งระบบสัตว์น้ำ�และสัตว์บก อย่างไรก็ดี การตรวจวัดการสุขาภิบาลต่างๆในระบบสัตว์น้ำ�แตกต่างจากระบบสัตว์บกเพราะของเสียที่มีไนโตรเจน (อุจจาระและปัสสาวะ) และที่ขับออกทางการหายใจ (คาร์บอนไดออกไซด์) ส่วนมากละลายอยู่ในน้ำ� ระบบยังชีพทีท�งานอย่างถูกต้องซึงถูกออกแบบเพือจัดการภาระทางชีวภาพจะรักษาของเสียไนโตรเจน ่ ำ ่ ่ ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ของแข็งต่างๆอาจถูกกำ�จัดออกได้หลากหลายวิธี ขึ้นอยู่กับการออกแบบระบบ โดยทั่วไปถูกกำ�จัดออกโดยการดูดออกแบบกาลักน้ำ� (การทำ�ความสะอาดน้�) และ/หรือโดยการกรอง จำ�เป็น ำ ต้องทำ�ความสะอาดแผ่นกรองหรือเปลี่ยน หรือถ้าสามารถทำ�ความสะอาดได้ต้องให้มีการบำ�รุงรักษา ทั้งนี้ ขึนอยูกบชนิดของแผ่นกรอง ในระบบน้�เค็มสารโปรตีนทีละลายอยูอาจถูกกำ�จัดด้วยตัวดักโปรตีน การลดขยะ ้ ่ั ำ ่ ่ อินทรีย์ช่วยจำ�กัดปริมาณของไนโตรเจนและฟอสฟอรัสที่จำ�เป็นต้องถูกกำ�จัดออกจากระบบ ธาตุทั้งสอง สามารถสะสมอยู่จนถึงระดับที่เป็นพิษต่อปลาและสัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบก ตัวกรองชีวภาพ (มีแบคทีเรีย ที่เปลี่ยนไนเตรทเป็นไนไตรท) โดยปกติมักกำ�จัดแอมโมเนียและไนไตรท สารต่างๆที่อาจเป็นพิษ ออกจาก ระบบสัตว์น� ไนเตรททีเป็นผลสุดท้ายของกระบวนการนี้ มีพษต่อสัตว์น�น้อยกว่า แต่ทระดับสูงมากสามารถ ้ำ ่ ิ ้ำ ี่ เป็นปัญหา โดยทั่วไปมักถูกกำ�จัดออกด้วยการเปลี่ยนน้ำ� ถึงแม้ว่าในระบบใหญ่ๆอาจมีหน่วยกำ�จัดไนไตรท เป็นพิเศษเพื่อลดระดับก็ตาม การฆ่าเชือมักทำ�ได้ส�เร็จโดยการบำ�บัดน้� (เช่น การกรอง และการใช้แสงอัลตร้าไวโอเลต หรือ โอโซน) ้ ำ ำ และ/หรือ การเปลี่ยนน้ำ� คลอรีนและสารเคมีเพื่อฆ่าเชื้อโดยส่วนใหญ่ไม่เหมาะสมกับการใช้สำ�หรับระบบ

86 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง สัตว์น้ำ�ที่มีสัตว์อาศัยอยู่เพราะมีพิษที่ความเข้มข้นต่ำ�ๆ เมื่อถูกใช้ฆ่าเชื้อทั้งระบบหรือส่วนประกอบของ ระบบ จะต้องใส่ใจดูแลเป็นพิเศษเพื่อให้แน่ใจว่า สารตกค้างคลอรีน สารเคมี และสารผลพลอยได้ต่างๆ ที่ ยังมีฤทธิ์ได้ถูกทำ�ให้เสื่อมหรือถูกกำ�จัด รูปแบบและความถี่ของการตรวจสอบผันแปรตามวิธีการฆ่าเชื้อ ระบบ และสัตว์ การเจริญของสาหร่ายพบบ่อยในระบบน้ำ�ต่างๆ และเพิ่มขึ้นร่วมกับการมีไนโตรเจนและฟอสฟอรัส โดยเฉพาะอย่างยิ่งในที่มีแสง การเจริญเติบโตมากเกินไปอาจเป็นตัวบ่งชี้ของการมีระดับไนโตรเจนและ ฟอสฟอรัสเพิมขึน สาหร่ายชนิดทีพบในระบบหมุนเวียนซ้�มักไม่เป็นพิษ ถึงแม้วาชนิดทีสามารถสร้างสารพิษ ่ ้ ่ ำ ่ ่ อาจจะยังมีอยู่ สาหร่ายมักถูกกำ�จัดด้วยวิธีที่ใช้เครื่องมือ (เช่น การขัดถู หรือการขูด) การจำ�กัดการเจริญ ของสาหร่ายเป็นสิ่งสำ�คัญเพื่อทำ�ให้มองดูสัตว์ที่อยู่ในสิ่งล้อมรอบได้ชัด การเจริญของแบคทีเรียสีน้ำ�เงิน (มักถูกเรียกว่า สาหร่ายสีน้ำ�เงินอมเขียว) เป็นไปได้เช่นกันและมักพบได้ในการเพาะพันธุ์ปลาน�จืด ปัจจัย ้ำ เช่นเดียวกันกับการเกิดการเจริญของสาหร่ายสามารถส่งเสริมการเจริญของแบคทีเรียสีน�เงิน ขณะทีโดยส่วน ้ำ ่ ใหญ่ไม่มีภัยเช่นเดียวกันกับสาหร่าย บางชนิดสามารถสร้างสารพิษที่มีส่วนสัมพันธ์กับอาการทางคลินิก (Smith et al. 2008) การเปลี่ยนและการฆ่าเชื้อตู้ (กรง) มักทำ�บ่อยครั้งด้วยการใช้วิธีที่แตกต่างจากระบบสัตว์บก เพราะว่า ของเสียละลายอยู่ในน้� และ/หรือ ถูกกำ�จัดในรูปของแข็งด้วยท่อดูดแบบกาลักน้ำ�หรือการกรอง การเปลี่ยน ำ ตู้ไม่ใช่ส่วนเสริม เพื่อการดูแลรักษาการสุขาภิบาลอย่างพอเพียงในระบบสัตว์น้ำ�ที่เป็นแบบอย่าง ความถี่ ของการทำ�ความสะอาดและการฆ่าเชื้อควรถูกกำ�หนดโดยคุณภาพน้ำ� ซึ่งเพื่อให้ให้มองดูสัตว์และเพื่อการ ตรวจสอบสุขภาพสัตว์ได้อย่างพอเพียงส่วนประกอบต่างๆ ของระบบ เช่น ฝาด้านบนตู้ปลาซึ่งอาจสะสม เศษอาหาร อาจต้องการการสุขาภิบาลบ่อยถึงสัปดาห์ละครั้งขึ้นอยู่กับความถี่และชนิดของอาหาร และ การออกแบบของระบบ การทำ�ความสะอาดและการฆ่าเชื้อสิ่งแวดล้อมมหภาค เช่นเดียวกันกับระบบสัตว์บก ทั่วทุกส่วน ของสถานที่สำ�หรับสัตว์ รวมทั้งห้องสัตว์และพื้นที่สนับสนุนต่างๆ (เช่น บริเวณเก็บของ สถานที่สำ�หรับ ล้างกรง ทางเดิน และห้องสำ�หรับทำ�การปฏิบัติกับสัตว์) ควรถูกทำ�ความสะอาดและฆ่าเชื้ออย่างสม่ำ�เสมอ อย่างเหมาะสมกับสภาพการณ์ และความถีถกกำ�หนดโดยการใช้พนทีและโอกาสของการปนเปือน สารทำ�ความ ู่ ื้ ่ ้ สะอาดควรถูกเลือกและถูกใช้อย่างเอาใจใส่เพื่อมั่นใจได้ว่าไม่มีการปนเปื้อนซ้ำ�สองในระบบสัตว์น้ำ� อุปกรณ์สำ�หรับการทำ�ความสะอาดควรทำ�ด้วยวัสดุที่คงทนต่อการผุกร่อนและทนต่อการสุขาภิบาล เป็นประจำ� อุปกรณ์ควรถูกกำ�หนดบริเวณต่างๆ ทีใช้อย่างเฉพาะเจาะจงและไม่ควรถูกเคลือนย้ายไปใช้ระหว่าง ่ ่ พืนทีทมความเสียงของการปนเปือนแตกต่างกันโดยมิได้ฆาเชือก่อน อุปกรณ์ทช�รุดควรถูกเปลียนเป็นประจำ� ้ ่ ี่ ี ่ ้ ่ ้ ี่ ำ ่ อุปกรณ์ควรถูกเก็บเป็นที่อย่างเรียบร้อย เป็นระเบียบซึ่งเอื้อต่อการให้แห้งได้ง่ายและลดการปนเปื้อนหรือ เป็นที่อยู่ของสัตว์ก่อความรำ�คาญให้มีน้อยที่สุด การทิ้งขยะ การบำ�บัดและการทิ้งน้ำ�เสียอาจมีความจำ�เป็นในบางสถานที่ขึ้นอยู่กับปริมาตร คุณภาพและ ส่วนประกอบทางเคมีต่างๆ กฎระเบียบของท้องถิ่นอาจจำ�กัดหรือควบคุมการปล่อยทิ้งน้ำ�เสีย

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 87 การควบคุมสัตว์ก่อความรำ�คาญ หลักเกณฑ์สำ�หรับการควบคุมสัตว์ก่อความรำ�คาญของสัตว์บกใช้ได้กับ ระบบสัตว์น้ำ� แต่เนื่องจากการดูดซึมผ่านผิวหนัง สัตว์น้ำ�และสัตว์กึ่งน้ำ�อาจมีความไวต่อสารควบคุมสัตว์ ก่อความรำ�คาญมากกว่าสัตว์บก การทบทวนสารเคมีต่างๆ และวิธีการใช้ก่อนการใช้เป็นสิ่งจำ�เป็น การดูแลในเวลาฉุกเฉิน วันสุดสัปดาห์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เช่นเดียวกันกับสัตว์บก สัตว์น้ำ�ควรได้รับ การดูแลทุกวันโดยบุคลากรที่มีคุณสมบัติที่มีความเข้าใจระบบที่อยู่อย่างพอเพียง เพื่อที่จะสามารถระบุการ ทำ�งานผิดปกติตางๆ ของระบบและถ้าเขาเหล่านันไม่สามารถระบุการล้มเหลวของระบบหนึงทีมความสำ�คัญ ่ ้ ่ ่ ี ซึ่งต้องมีการแก้ไขก่อนวันทำ�งานพรุ่งนี้ เขาสามารถเข้าถึงพนักงานผู้สามารถตอบสนองปัญหานั้นได้ ระบบ การตรวจสอบแบบอัตโนมัติมีอยู่และอาจมีความเหมาะสม ขึ้นอยู่กับขนาดและความซับซ้อนของระบบ ควรพัฒนาแผนตอบสนองเหตุฉุกเฉินอย่างเหมาะสมเพื่อเตรียมรับมือเหตุล้มเหลวต่างๆของระบบ การจัดการประชากรสัตว์ การทำ�เครืองหมาย การทำ�เครืองหมายมีหลักเกณฑ์เช่นเดียวกันกับสำ�หรับสัตว์บก แนวทางการทำ�เครืองหมาย ่ ่ ่ อยู่บนพื้นฐานชนิดของสัตว์และระบบที่อยู่ วิธีการทำ�เครื่องหมายที่มีใช้ในสัตว์น้ำ�ได้แก่ การตัดปลายครีบ การทดสอบพันธุกรรม (Matthews et al. 2002; Nickum et al. 2004) การติดป้าย การฉีดสารสกัดโพลิเมอร์ (elastomeric) หรือวัสดุอื่นเข้าใต้ผิวหนัง (Nickum et al. 2004) ป้ายประจำ�ตัวที่มีเครื่องรับส่งสัญญาน (ในสัตว์ ที่มีขนาดพอเพียง) และการใช้รูปร่างภายนอกเมื่อทำ�ได้ เช่น รูปแบบสีประจำ�ตัว การระบุสัตว์ตามกลุ่ม อาจเหมาะสมกว่าในบางสถานการณ์ เพราะว่าเป็นการยากในการระบุตัวสัตว์น้ำ�ขนาดเล็กบางชนิดแต่ละตัว ตลอดชีวิตของสัตว์เหล่านั้น (Koerber and Kalishman 2009; Matthews et al. 2002) การเก็บเอกสารสัตว์น้ำ� การเก็บเอกสารสัตว์น�อย่างเหมาะสมเป็นความจำ�เป็นในการจัดการระบบสัตว์น้ำ� ้ำ โดยทั่วไปมาตรฐานเช่นเดียวกันกับของสัตว์บกถูกใช้กับสัตว์น้ำ�และสัตว์กึ่งน้ำ� ถึงแม้ว่าการดัดแปลงมีความ จำ�เป็นเพื่อให้เหมาะกับความหลากหลายของชนิดสัตว์หรือระบบ (Koerber and Kalishman 2009) ถึงแม้ว่าสัตว์น้ำ�หลายชนิดถูกจัดการเลี้ยงโดยทำ�เครื่องหมายเป็นกลุ่ม (เปรียบเทียบกับทำ�แต่ละตัว) การเก็บระเบียนข้อมูลสัตว์อย่างละเอียดยังเป็นความจำ�เป็น ข้อมูลสัตว์ที่เก็บตามปกติโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในการวิจัยชีวการแพทย์ที่ใช้ปลา ได้แก่ ชนิด ข้อมูลทางพันธุกรรม (การระบุสายพันธุ์ของพ่อแม่พันธุ์ ส่วนประกอบทางพันธุกรรม) แหล่งที่มาของเชื้อสาย ลำ�ดับเบอร์ในระบบของเชื้อสาย ข้อมูลระบบยังชีพ การผสมพันธุ์ การตาย การเจ็บป่วย การเคลื่อนย้ายสัตว์ภายในและภายนอกสถานที่ และข้อมูลการผสม ติด/การฟักออกเป็นตัว (Koerber and Kalishman 2009; Matthews et al. 2002) ควรเก็บข้อมูลที่เกี่ยวกับ การให้อาหาร (เช่น การให้และการยอมรับอาหาร) การจัดหาวัสดุอาหารที่ไม่หมดอายุเพื่อมั่นใจว่าสนับสนุน คุณค่าทางโภชนาการ และการแพร่พนธุทมชวต (เช่น อัตราและข้อมูลการฟักออกเป็นตัวเพือให้มนใจว่าได้ท� ั ์ ี่ ี ี ิ ่ ั่ ำ ตามคำ�แนะนำ�ของผู้ผลิต Matthews et al. 2002)

88 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง บันทึกของการทดสอบคุณภาพน้�สำ�หรับระบบและแหล่งน้� และกิจกรรมการบำ�รุงรักษาส่วนประกอบ ำ ำ ต่างๆ ของระบบยังชีพมีความสำ�คัญเพื่อติดตามคุณภาพน้ำ�และให้ความมั่นใจ ระดับค่าตัวแปรกำ�หนด ทีแน่นอนของคุณภาพน้�ทีถกทดสอบและความถีของการทดสอบควรถูกกำ�หนดอย่างชัดเจน และอาจผันแปร ่ ำ ู่ ่ ตามปัจจัยต่างๆ เช่น ชนิดของระบบยังชีพ ชนิดสัตว์และการวิจัย ดังได้กล่าวแล้วในหัวข้อคุณภาพน้ำ� การติดตามเบอร์ของสัตว์ในระบบสัตว์น้ำ�มักทำ�ได้ด้วยข้อมูลที่ถูกต้องของการเคลื่อนย้าย การผสมพันธุ์ และการตาย (Matthews et al. 2002) ในบางกรณีที่มีสัตว์อาศัยอยู่เป็นกลุ่มใหญ่ (เช่น Xenopus บางฝูง) อาจทำ�การสำ�รวจจำ�นวนสัตว์เป็นระยะๆ เพื่อนับจำ�นวนตามจริง ในการวิจัยการเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ�ทาง การเกษตรขนาดใหญ่ การวัดชีวมวลของระบบอาจมีความเหมาะสมมากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับจำ�นวนสัตว์ ตามจริง (Borski and Hodson 2003) เอกสารอ้างอิง Alworth LC, Harvey SB. 2007. IACUC issues associated with amphibian research. ILAR J 48:278-289. Alworth LC, Vazquez VM. 2009. A novel system for individually housing bullfrogs. Lab Anim 38:329-333. Ames BN, Shigenaga MK, Hagen TM. 1993. Review: Oxidants, antioxidants, and the degenerative diseases of aging. Proc Natl Acad Sci USA 90:7915-7922. Anadon A, Martinez-Larranaga MR, Martinez MA. 2009. Use and abuse of pyrethrins and synthetic pyrethroids in veterinary medicine. Vet J (UK) 182:7-20. Andrade CS, Guimaraes FS. 2003. Anxiolytic-like effect of group housing on stress-induced behavior in rats. Depress Anx 18:149-152. Apeldoorn EJ, Schrama JW, Mashaly MM, Parmentier HK. 1999. Effect of melatonin and lighting schedule on energy metabolism in broiler chickens. Poultry Sci 78:223-229. Arakawa H. 2005. Age dependent effects of space limitation and social tension on open-field behavior in male rats. Physiol Behav 84:429-436. Armario A, Castellanos JM, Balasch J. 1985. Chronic noise stress and insulin secretion in male rats. Physiol Behav 34:359-361. Armstrong KR, Clark TR, Peterson MR. 1998. Use of corn-husk nesting material to reduce aggression in caged mice. Contemp Top Lab Anim Sci 37:64-66. Augustsson H, Lindberg L, Hoglund AU, Dahlborn K. 2002. Human-animal interactions and animal welfare in conventionally and pen-housed rats. Lab Anim 36:271-281. Azar TA, Sharp JL, Larson DM. 2008. Effect of housing rats in dim light or long nights on heart rate. JAALAS 47:25-34. Baer LA, Corbin BJ, Vasques MF, Grindeland RE. 1997. Effects of the use of filtered microisolator tops on cage microenvironment and growth rate of mice. 1997. Lab Anim Sci 47:327-329.

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 89 Baldwin AL. 2007. Effects of noise on rodent physiology. Int J Comp Psychol 20:134-144. Barnett SA. 1965. Adaptation of mice to cold. Biol Rev 40:5-51. Barnett SA. 1973. Maternal processes in the cold-adaptation of mice. Biol Rev 48:477-508. Bartolomucci A, Palanza P, Parmigiani S. 2002. Group housed mice: Are they really stressed? Ethol Ecol Evol 14:341-350. Bartolomucci A, Palanza P, Sacerdote P, Ceresini G, Chirieleison A, Panera AE, Parmigiani S. 2003. Individual housing induces altered immuno-endocrine responses to psychological stress in male mice. Psychoneuroendocrinology 28:540-558. Baumans V. 1997. Environmental enrichment: Practical applications. In: Van Zutphen LFM, Balls M, eds. Animal Alternatives, Welfare and Ethics. Elsevier. p 187-197. Baumans V. 2005. Environmental enrichment for laboratory rodents and rabbits: Requirements of rodents, rabbits, and research. ILAR J 46:162-170. Baumans V, Schlingmann F, Vonck M, Van Lith HA. 2002. Individually ventilated cages: Beneficial for mice and men? Contemp Top Lab Anim Sci 41:13-19. Bayne KA. 2002. Development of the human-research animal bond and its impact on animal well-being. ILAR J 43:4-9. Bayne KA. 2005. Potential for unintended consequences of environmental enrichment for laboratory animals and research results. ILAR J 46:129-139. Bayne KA, Dexter SL, Hurst JK, Strange GM, Hill EE. 1993. Kong Toys for laboratory primates: Are they really an enrichment or just fomites? Lab Anim Sci 43(1):78-85. Bayne KA, Haines MC, Dexter SL, Woodman D, Evans C. 1995. Nonhuman primate wounding prevalence: A retrospective analysis. Lab Anim 24:40-43. Bazille PG, Walden SD, Koniar BL, Gunther R. 2001. Commercial cotton nesting material as a predisposing factor for conjunctivitis in athymic nude mice. Lab Anim (NY) 30:40-42. Beaumont S. 2002. Ocular disorders of pet mice and rats. Vet Clin North Am Exot Anim Pract 5:311-324. Becker BA, Christenson RK, Ford JJ, Nienaber JA, DeShazer JA, Hahn GL. 1989. Adrenal and behavioral responses of swine restricted to varying degrees of mobility. Physiol Behav 45:1171-1176. Bell GC. 2008. Optimizing laboratory ventilation rates. Labs for the 21st century: Best practice guide. US Environmental Protection Agency. Available at http://labs21century.gov/pdf/ bp_opt_vent_508.pdf; accessed March 30, 2010. Bellhorn RW. 1980. Lighting in the animal environment. Lab Anim Sci 30:440-450. Bergmann P, Militzer K, Büttner D. 1994. Environmental enrichment and aggressive behaviour: influence on body weight and body fat in male inbred HLG mice. J Exp Anim Sci 37:59-78. Berson DM, Dunn FA, Takao M. 2002. Phototransduction by retinal ganglion cells that set the circadian clock. Science 295:1070-1073. Besch EL. 1980. Environmental quality within animal facilities. Lab Anim Sci 30:385-406. Blaustein A, Marco A, Quichano C. 1999. Sensitivity to nitrate and nitrite in pond-breeding amphibians from the Pacific Northwest, USA. Environ Toxicol Chem J 18:2836-2839. Blom HJM, Van Tintelen G, Van Vorstenbosch CJ, Baumans V, Beynen AC. 1996. Preferences of mice and rats for types of bedding material. Lab Anim 30:234-244. Bloomsmith MA, Stone AM, Laule GE. 1998. Positive reinforcement training to enhance the voluntary movement of group-housed chimpanzees within their enclosures. Zoo Biol 17:333-341. Bly JE, Quiniou SM, Clem LW. 1997. Environmental effects on fish immune mechanisms. Dev Biol Stand 90:33-43. Borski R, Hodson RG. 2003. Fish research and the institutional animal care and use committee. ILAR J 44:286-294.

90 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง Bracke MBM, Metz JHM, Spruijt BM, Schouten WGP. 2002. Decision support system for overall welfare assessment in pregnant sows. B: Validation by expert opinion. J Anim Sci 80:1835-1845. Brainard GC. 1989. Illumination of laboratory animal quarters: Participation of light irradiance and wavelength in the regulation of the neuroendocrine system. In: Science and Animals: Addressing Contemporary Issues. Greenbelt, MD: Scientists Center for Animal Welfare. p 69-74. Brainard GC, Vaughan MK, Reiter RJ. 1986. Effect of light irradiance and wavelength on the Syrian hamster reproductive system. Endocrinology 119:648-654. Brenner FJ, Brenner PE. 1969. The influence of light and temperature on body fat and reproductive conditions of Rana pipiens. Ohio J Sci 69:305-312. Brent L. 1995. Feeding enrichment and body weight in captive chimpanzees. J Med Primatol 24(1):12-16. Briese V, Fanghanel J, Gasow H. 1984. Effect of pure sound and vibration on the embryonic development of the mouse. Zentralbl Gynokol 106:378-388. Broderson JR, Lindsey JR, Crawford JE. 1976. The role of environmental ammonia in respiratory mycoplasmosis of rats. Am J Pathol 85:115-127. Brown AM, Pye JD. 1975. Auditory sensitivity at high frequencies in mammals. Adv Comp Physiol Biochem 6:1-73. Browne RK, Edwards DL. 2003. The effect of temperature on the growth and development of green and golden bell frogs (Litoria aurea). J Therm Biol 28:295-299. Browne RK, Zippel K. 2007. Reproduction and larval rearing of amphibians. ILAR J 48:214-234. Browne RK, Pomering M, Hamer AJ. 2003. High density effects on the growth, development and survival of Litoria aurea tadpoles. Aquaculture 215:109-121. Browne RK, Odum RA, Herman T, Zippel K. 2007. Facility design and associated services for the study of amphibians. ILAR J 48:188-202. Buddaraju AKV, Van Dyke RW. 2003. Effect of animal bedding on rat liver endosome acidification. Comp Med 53:616-621. Carfagnini AG, Rodd FH, Jeffers KB, Bruce AEE. 2009. The effects of habitat complexity on aggression and fecundity in zebrafish (Danio rerio). Environ Biol Fish 86:403-409. Carissimi AS, Chaguri LCAA, Teixeira MA, Mori CMC, Macchione M, Sant’Anna ETG, Saldiva PHN, Souza NL, Merusse JBL. 2000. Effects of two ventilation systems and bedding change frequency on cage environmental factors in rats (Rattus norvegicus). Anim Tech 51:161-170. Carman RA, Quimby FW, Glickman GM. 2007. The effect of vibration on pregnant laboratory mice. Noise-Con Proc 209:1722-1731. Castelhano-Carlos MJ, Sousa N, Ohl F, Baumans V. 2010. Identification methods in newborn C57BL/6 mice: A developmental and behavioural evaluation. Lab Anim 4:88-103. Caulfield CD, Cassidy JP, Kelly JP. 2008. Effects of gamma irradiation and pasteurization on the nutritive composition of commercially available animal diets. JAALAS 47:61-66. CFR [Code of Federal Regulations]. 2009. Title 21, Part 58. Good Laboratory Practice for Nonclinical Laboratory Studies. Washington: Government Printing Office. Available at www. accessdata.fda.gov/scripts/cdrh/cfdocs/cfcfr/CFRSearch.cfm?CFRPart=58andshowFR=1; accessed April 1, 2010. Chapillon P, Manneche C, Belzung C, Caston J. 1999. Rearing environmental enrichment in two inbred strain of mice: 1. Effects on emotional reactivity. Behav Genet 29:41-46. Cherry JA. 1987. The effect of photoperiod on development of sexual behavior and fertility in golden hamsters. Physiol Behav 39:521-526.

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 91 Chmiel DJ, Noonan M. 1996. Preference of laboratory rats for potentially enriching stimulus objects. Lab Anim 30:97-101. Clarence WM, Scott JP, Dorris MC, Paré M. 2006. Use of enclosures with functional vertical space by captive rhesus monkeys (Macaca mulatta) involved in biomedical research. JAALAS 45:31-34. Clough G. 1982. Environmental effects on animals used in biomedical research. Biol Rev 57:487-523. Colman RJ, Anderson RM, Johnson SC, Kastman EK, Kosmatka KJ, Beasley TM, Allison DB, Cruzen C, Simmons HA, Kemnitz JW, Weindruch R. 2009. Caloric restriction delays disease onset and mortality in rhesus monkeys. Science 325:201-204. Compton SR, Homberger FR, MacArthur Clark J. 2004a. Microbiological monitoring in individually ventilated cage systems. Lab Anim 33:36-41. Compton SR, Homberger FR, Paturzo FX, MacArthur Clark J. 2004b. Efficacy of three microbiological monitoring methods in a ventilated cage rack. Comp Med 54:382-392. Conner DA. 2002. Mouse colony management. Curr Protoc Mol Biol 23.8.1-23.8.11, suppl 57. Conner DA. 2005. Transgenic mouse colony management. Curr Protoc Mol Biol 23.10.1- 23.10.8, suppl 71. Corning BF, Lipman NS. 1991. A comparison of rodent caging system based on microenviron- mental parameters. Lab Anim Sci 41:498-503. Cramer DV. 1983. Genetic monitoring techniques in rats. ILAR News 26:15-19. Crippa L, Gobbi A, Ceruti RM. 2000. Ringtail in suckling Munich Wistar Frömter rats: A histo- `pathologic study. Comp Med 50:536-539. Cunliffe-Beamer TL, Freeman LC, Myers DD. 1981. Barbiturate sleep time in mice exposed to autoclaved or unautoclaved wood beddings. Lab Anim Sci 31:672-675. Davidson LP, Chedester AL, Cole MN. 2007. Effects of cage density on behavior in young adult mice. Comp Med 57:355-359. De Boer SF, Koolhaas JM. 2003. Defensive burying in rodents: Ethology, neurobiology and psychopharmacology. Eur J Pharmacol 463:145-161. De Veer MJ, Kemp JM, Meeusen ENT. 2007. The innate host defence against nematode parasites. Parasite Immunol 29:1-9. Denardo D. 1995. Amphibians as laboratory animals. ILAR J 37:173-181. DeTolla LJ, Sriniva S, Whitaker BR, Andrews C, Hecker B, Kane AS, Reimschuessel R. 1995. Guidelines for the care and use of fish in research. ILAR J 37:159-172. DHHS [Department of Health and Human Services]. 2009. Biosafety in Microbiological and Biomedical Laboratories, 5th ed. Chosewood LC, Wilson DE, eds. Washington: Government Printing O f f i ce. A v a i l a b le a t ht t p : / / w w w.c dc .gov/bi osa fe ty/pu bl i c a ti on s/ bmbl 5/i n de x.h tm ; accessed July 30, 2010. DiBerardinis L, Greenley P, Labosky M. 2009. Laboratory air changes: What is all the hot air about? J Chem Health Safety 16:7-13. Donahue WA, VanGundy DN, Satterfield WC, Coghlan LJ. 1989. Solving a tough problem. Pest Control 57:46-50. Drescher B. 1993. The effects of housing systems for rabbits with special reference to ulcerative pododermatitis. Tierärztl Umschau 48:72-78. Duncan TE, O’Steen WK. 1985. The diurnal susceptibility of rat retinal photoreceptors to lightinduced damage. Exp Eye Res 41:497-507. Dyke B. 1993. Basic data standards for primate colonies. Am J Primatol 29:125-143. Eadie JM, Mann SO. 1970. Development of the rumen microbial population: High starch diets and instability. In: Phillipson AT, Annison EF, Armstrong DG, Balch CC, Comline RS, Hardy RN, Hobson PN, Keynes RD, eds. Physiology of Digestion and Metabolism in the Ruminant. Proceedings of the Third International Symposium. Newcastle upon Tyne UK: FRS Oriel Press Ltd. p 335-347.

92 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง Easterbrook JD, Kaplan JB, Glass GE, Watson J, Klein SL. 2008. A survey of rodent-borne pathogens carried by wild-caught Norway rats: A potential threat to laboratory rodent colonies. Lab Anim 42:92-98. Ednie DL, Wilson RP, Lang CM. 1998. Comparison of two sanitation monitoring methods in an animal research facility. Contemp Top Lab Anim Sci 37:71-74. Erkert HG, Grober J. 1986. Direct modulation of activity and body temperature of owl monkeys (Aotus lemurinus griseimembra) by low light intensities. Folia Primatol 47:171-188. Eskola S, Lauhikari M, Voipio HM, Laitinen M, Nevalainen T. 1999. Environmental enrichment may alter the number of rats needed to achieve statistical significance. Scand J Lab Anim Sci 26:134-144. FELASA [Federation of European Laboratory Animal Science Associations] Working Group. 2007. FELASA Guidelines for the production and nomenclature of transgenic rodents. Lab Anim 41:301-311. Festing MFW. 1979. Inbred Strains in Biomedical Research. London: Macmillan. Festing MFW. 1982. Genetic contamination of laboratory animal colonies: An increasingly serious problem. ILAR News 25:6-10. Festing MFW. 2002. Laboratory animal genetics and genetic quality control. In: Hau J, Van Hoosier GL Jr, eds. Handbook of Laboratory Animal Science. Boca Raton, FL: CRC Press. p 173-203. Festing MFW, Kondo K, Loosli R, Poiley SM, Spiegel A. 1972. International standardized nomenclature for outbred stocks of laboratory animals. ICLA Bull 30:4-17. Fidler IJ. 1977. Depression of macrophages in mice drinking hyperchlorinated water. Nature 270:735-736. Field K, Bailey M, Foresman LL, Harris RL, Motzel SL, Rockar RA, Ruble G, Suckow MA. 2007. Medical records for animals used in research, teaching and testing: Public statement from the American College of Laboratory Animal Medicine. ILAR J 48:37-41. Fisher JP. 2000. Facilities and husbandry (large fish model). In: Ostrander GK, ed. The Laboratory Fish. San Francisco: Academic Press. p 13-39. Fletcher JL. 1976. Influence of noise on animals. In: McSheehy T, ed. Control of the Animal House Environment. Laboratory Animal Handbooks 7. London: Laboratory Animals Ltd. p 51-62. Fraile B, Paniagua R, Rodrigues MC, Saez J. 1989. Effects of photoperiod and temperature on spermiogenesis in marbeled newts (Triturus marmoratus marmoratus). Copeia 1989:357-363. Fullerton FR, Greenman DL, Kendall DC. 1982. Effects of storage conditions on nutritional qualities of semipurified (AIN-76) and natural ingredient (NIH-07) diets. J Nutr 112:567-573. Fullerton PM, Gilliatt RW. 1967. Pressure neuropathy in the hind foot of the guinea pig. J Neurol Neurosurg Psychiat 30:18-25. Garg RC, Donahue WA. 1989. Pharmacologic profile of methoprene, an insect growth regulator, in cattle, dogs, and cats. JAVMA 194:410-412. Garner JP. 2005. Stereotypies and other abnormal repetitive behaviors: Potential impact on validity, reliability, and replicability of scientific outcomes. ILAR J 46:106-117. Garrard G, Harrison GA, Weiner JS. 1974. Reproduction and survival of mice at 23ºC. J Reprod Fert 37:287-298. Gärtner K. 1999. Cage enrichment occasionally increases deviation of quantitative traits. In: Proc Int Joint Mtg 12th ICLAS General Assembly and Conference and 7th FELASA Symposium. p 207-210. Gaskill BN, Rohr SA, Pajor EA, Lucas JR, Garner JP. 2009. Some like it hot: Mouse temperature preferences in laboratory housing. Appl Anim Behav Sci 116:279-285. Geber WF, Anderson TA, Van Dyne B. 1966. Physiologic responses of the albino rat to chronic noise stress. Arch Environ Health 12:751‑754.

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 93 Georgsson L, Barrett J, Gietzen D. 2001. The effects of group-housing and relative weight on feeding behaviour in rats. Scand J Lab Anim Sci 28:201-209. Gibson SV, Besch-Williford C, Raisbeck MF, Wagner JE, McLaughlin RM. 1987. Organophosphate toxicity in rats associated with contaminated bedding. Lab Anim 37:789-791. Gill TJ. 1980. The use of randomly bred and genetically defined animals in biomedical research. Am J Pathol 101(3S):S21-S32. Godfrey EW, Sanders GW. 2004. Effect of water hardness on oocyte quality and embryo development in the African clawed frog (Xenopus laevis). Comp Med 54:170-175. Gonder JC, Laber K. 2007. A renewed look at laboratory rodent housing and management. ILAR J 48:29-36. Gonzalez RR, Kiuger MJ, Hardy JD. 1971. Partitional calorimetry of the New Zealand white rabbit at temperatures of 5-35°C. J Appl Physiol 31:728. Gordon AH, Hart PD, Young MR. 1980. Ammonia inhibits phagosome-lysosome fusion in macrophages. Nature 286:79-80. Gordon CJ. 1990. Thermal biology of the laboratory rat. Physiol Behav 47:963-991. Gordon CJ. 1993. Temperature Regulation in Laboratory Animals. New York: Cambridge University Press. Gordon CJ. 2004. Effect of cage bedding on temperature regulation and metabolism of group- housed female mice. Comp Med 54:63-68. Gordon CJ. 2005. Temperature and Toxicology: An integrative, comparative and environmental approach. Boca Raton, FL: CRC Press. Gordon CJ, Becker P, Ali JS. 1998. Behavioral thermoregulatory responses of single- and group- housed mice. Physiol Behav 65:255-262. Green EL. 1981. Genetics and Probability in Animal Breeding Experiments. New York: Oxford University Press. Green SL. 2002. Factors affecting oogenesis in the South African clawed frog (Xenopus laevis). Comp Med 52:307-312. Green SL. 2009. The Laboratory Xenopus sp. (Laboratory Animal Pocket Reference). Boca Raton, FL: CRC Press. Greenman DL, Bryant P, Kodell RL, Sheldon W. 1982. Influence of cage shelf level on retinal atrophy in mice. Lab Anim Sci 32:353‑356. Gresens J. 2004. An introduction to the Mexican axolotl (Ambystoma mexicanum). Lab Anim 33:41-47. Groen A. 1977. Identification and genetic monitoring of mouse inbred strains using biomedical polymorphisms. Lab Anim (London) II:209-214. Gunasekara AS, Rubin AL, Goh KS, Spurlock FC, Tjeerdema RS. 2008. Environmental fate and toxicology of carbaryl. Rev Environ Contam Toxicol 196:95-121. Gutleb AC, Bronkhorst M, van den Berg JHJ, Musrk AJ. 2001. Latex laboratory gloves: An unexpected pitfall in amphibian toxicity assays with tadpoles. Environ Toxicol Pharmacol 10:119-121. Haemisch A, Voss T, Gärtner K. 1994 Effects of environmental enrichment on aggressive behaviour, dominance hierarchies and endocrine states in male DBA/2J mice. Physiol Behav 56:1041-1048. Hahn NE, Lau D, Eckert K, Markowitz H. 2000. Environmental enrichment-related injury in a macaque (Macaca fascicularis): Intestinal linear foreign body. Comp Med 50:556-558. Hall FS. 1998. Social deprivation of neonatal, adolescent, and adult rats has distinct neurochemical and behavioural consequences. Crit Rev Neurobiol 12:129-162. Hall JE, White WJ, Lang CM. 1980. Acidification of drinking water: Its effects on selected biologic phenomena in male mice. Lab Anim Sci 30:643-651.

94 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง Hankenson FC, Garzel LM, Fischer DD, Nolan B, Hankenson KD. 2008. Evaluation of tail biopsy collection in laboratory mice (Mus musculus): Vertebral ossification, DNA quantity, and acute behavioral responses. JAALAS 47(6):10-18. Hanifin JP, Brainard GC. 2007. Photoreception for circadian, neuroendocrine, and neurobehavioral regulation. J Physiol Anthropol 26:87-94. Hartl DL. 2000. A Primer of Population Genetics, 3rd ed. Sunderland, MA: Sinauer Associates. Hasenau JJ, Baggs RB, Kraus AL. 1993. Microenvironments in microisolation cages using BALB/c and CD-1 Mice. Contemp Top Lab Anim Sci 32:11-16. Hedrich HJ. 1990. Genetic Monitoring of Inbred Strains of Rats. New York: Gustav Fischer Verlag. Heffner HE, Heffner RS. 2007. Hearing ranges of laboratory animals. JAALAS 46:20-22. Held SDE, Turner RJ, Wootton RJ. 1995. Choices of laboratory rabbits for individual or grouphousing. Appl Anim Behav Sci 46:81-91 Hermann LM, White WJ, Lang CM. 1982. Prolonged exposure to acid, chlorine, or tetracycline in drinking water: Effects on delayed-type hypersensitivity, hemagglutination titers, and reticuloendothelial clearance rates in mice. Lab Anim Sci 32:603-608. Hess SE, Rohr S, Dufour BD, Gaskill BN, Pajor EA, Garner JP. 2008. Home improvement: C57BL/6J mice given more naturalistic nesting materials build better nests. JAALAS 47:25-31. Hilken G, Dimigen J, Iglauer F. 1995. Growth of Xenopus laevis under different laboratory rearing conditions. Lab Anim 29:152-162. Hill D. 1999. Safe handling and disposal of laboratory animal waste. Occup Med 14:449-468. Hoffman HA, Smith KT, Crowell JS, Nomura T, Tomita T. 1980. Genetic quality control of laboratory animals with emphasis on genetic monitoring. In: Spiegel A, Erichsen S, Solleveld HA, eds. Animal Quality and Models in Biomedical Research. Stuttgart: Gustav Fischer Verlag. p 307-317. Homberger FR, Pataki Z, Thomann PE. 1993. Control of Pseudomonas aeruginosa infection in mice by chlorine treatment of drinking water. Lab Anim Sci 43:635-637. Hotchkiss CE, Paule MG. 2003. Effect of pair-housing on operant behavior task performance by rhesus monkeys. Contemp Top Lab Anim Sci 42:38-41. Hubrecht RC. 1993. A comparison of social and environmental enrichment methods for laboratory housed dogs. Appl Anim Behav Sci 37:345-361. Hughes HC, Reynolds S. 1995. The use of computational fluid dynamics for modeling air flow design in a kennel facility. Contemp Top Lab Anim Sci 34:49-53 Ikemoto S, Panksepp J. 1992. The effect of early social isolation on the motivation for social play in juvenile rats. Dev Psychobiol 25:261-274. Ivy AS, Brunson KL, Sandman C, Baram TZ. 2008. Dysfunctional nurturing behavior in rat dams with limited access to nesting material: A clinically relevant model for early-life stress. Neuroscience 154:1132-1142. Jacobs BB, Dieter DK. 1978. Spontaneous hepatomas in mice inbred from Ha:ICR Swiss stock: Effects of sex, cedar shavings in bedding, and immunization with fetal liver or hepatoma cells. J Natl Cancer Inst 61:1531-1534. Jones DM. 1977. The occurrence of dieldrin in sawdust used as bedding material. Lab Anim 11:137. Karolewicz B, Paul IA. 2001. Group housing of mice increases immobility and antidepressant sensitivity in the forced swim and tail suspension tests. Eur J Pharmacol 415:97-201. Kaufman BM, Pouliot AL, Tiefenbacher S, Novak MA. 2004. Short- and long-term effects of a substantial change in cage size on individually housed, adult male rhesus monkeys (Macaca mulatta). Appl Anim Behav Sci 88:319-330.

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 95 Kaye GI, Weber PB, Evans A, Venezia RA. 1998. Efficacy of alkaline hydrolysis as an alternative method for treatment and disposal of infectious animal waste. Contemp Top Lab Anim Sci 37:43-46. Keenan KP, Smith PF, Soper KA. 1994. Effect of dietary (caloric) restriction on aging, survival, pathobiology and toxicology. In: Notter W, Dungworth DL, Capen CC, eds. Pathobiology of the Aging Rat, vol 2. Washington: International Life Sciences Institute. p 609-628. Keenan KP, Laroque P, Ballam GC, Soper KA, Dixit R, Mattson BA, Adams SP, Coleman JB. 1996. The effects of diet, ad libitum overfeeding, and moderate dietary restriction on the rodent bioassay: The uncontrolled variable in safety assessment. Toxicol Pathol 24:757-768. Keller LSF, White WJ, Snyder MT, Lang CM. 1989. An evaluation of intracage ventilation in three animal caging systems. Lab Anim Sci 39:237-242. Kempthorne O. 1957. An Introduction to Genetic Statistics. New York: John Wiley and Sons. King JE, Bennett GW. 1989. Comparative activity of fenoxycarb and hydroprene in sterilizing the German cockroach (Dictyoptera: Blattellidae). J Econ Entomol 82:833-838. Knapka JJ. 1983. Nutrition. In: Foster HL, Small JD, Fox JG, eds. The Mouse in Biomedical Research, vol III: Normative Biology, Immunology and Husbandry. New York: Academic Press. p 52-67. Koerber AS, Kalishman J. 2009. Preparing for a semi-annual IACUC inspection of a satellite zebrafish (Danio rerio) facility. JAALAS 48:65-75. Kraft LM. 1980. The manufacture, shipping and receiving, and quality control of rodent bedding materials. Lab Anim Sci 30:366-376. Krause J, McDonnell G, Riedesel H. 2001. Biodecontamination of animal rooms and heatsensitive equipment with vaporized hydrogen peroxide. Contemp Top Lab Anim Sci 40: 8-21. Krohn TC, Hansen AK, Dragsted N. 2003. The impact of cage ventilation on rats housed in IVC systems. Lab Anim 37:85-93. Laber K, Veatch L, Lopez M, Lathers D. 2008. The impact of housing density on weight gain, immune function, behavior, and plasma corticosterone levels in BALB/c and C57Bl/6 mice. JAALAS 47:6-23. Lacy RC. 1989. Analysis of founder representation in pedigrees: Founder equivalents and founder genome equivalents. Zoo Biol 8:111-123. Lanum J. 1979. The damaging effects of light on the retina: Empirical findings, theoretical and practical implications. Surv Ophthalmol 22:221-249. Laule GE, Bloomsmith MA, Schapiro SJ. 2003 The use of positive reinforcement training techniques to enhance the care, management, and welfare of primates in the laboratory. JAppl Anim Welf Sci 6:163-173. Lawler DF, Larson BT, Ballam JM, Smith GK, Biery DN, Evan RH, Greeley EH, Segre M, Stowe HD, Kealy RD. 2008. Diet restriction and ageing in the dog: Major observations over two decades. Br J Nutr 99:793-805. Lawlor MM. 2002. Comfortable quarters for rats in research institutions. In: Reinhardt V, Reinhardt A, eds. Comfortable Quarters for Laboratory Animals, 9th ed. Washington: Animal Welfare Institute. p 26-32. Lawrence C. 2007. The husbandry of zebrafish (Danio rerio): A review. Aquaculture 269:1-20. Leveille GA, Hanson RW. 1966. Adaptive changes in enzyme activity and metabolic pathways in adipose tissue from meal-fed rats. J Lipid Res 7:46. Linder CC. 2003. Mouse nomenclature and maintenance in genetically engineered mice. Comp Med 53:119-125. Lipman NS. 1993. Strategies for architectural integration of ventilated caging systems. Contemp Top Lab Anim Sci 32:7-10.

96 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง Liu L, Nutter LMJ, Law N, McKerlie C. 2009. Sperm freezing and in vitro fertilization on three substrains of C57BL/6 mice. JAALAS 48:39-43. Lupo C, Fontani G, Girolami L, Lodi L, Muscettola M. 2000. Immune and endocrine aspects of physical and social environmental variations in groups of male rabbits in seminatural conditions. Ethol Ecol Evol 12:281-289. Lutz CK, Novak MA. 2005. Environmental enrichment for nonhuman primates: Theory and application. ILAR J 46:178-191. MacCluer JW, VandeBerg JL, Read B, Ryder OA. 1986. Pedigree analysis by computer simulation. Zoo Biol 5:147-160. MacLean EL, Prior RS, Platt ML, Brannon EM. 2009. Primate location preference in a doubletier cage: The effects of illumination and cage height. J Anim Welf Sci 12:73-81. Macrì S, Pasquali P, Bonsignore LT, Pieretti S, Cirulli F, Chiarotti F, Laviola G. 2007. Moderate neonatal stress decreases within-group variation in behavioral, immune and HPA responses in adult mice. PLoS One 2(10):e1015. Maniero GD, Carey C. 1997. Changes in selected aspects of immune function in leopard frog, Rana pipiens, associated with exposure to cold. J Comp Physiol B 167:256-263. Manninen AS, Antilla S, Savolainen H. 1998. Rat metabolic adaptation to ammonia inhalation. Proc Soc Biol Med 187:278-281. Manser CE, Morris TH, Broom DM. 1995. An investigation into the effects of solid or grid cage flooring on the welfare of laboratory rats. Lab Anim 29:353-363. Manser CE, Elliott H, Morris TH, Broom DM. 1996. The use of a novel operant test to determine the strength of preference for flooring in laboratory rats. Lab Anim 30:1-6. Manser CE, Broom DM, Overend P, Morris TM. 1997. Operant studies to determine the strength of preference in laboratory rats for nest boxes and nest materials. Lab Anim 32:36-41. Manser CE, Broom DM, Overend P, Morris TM. 1998. Investigations into the preferences of laboratory rats for nest boxes and nesting materials. Lab Anim 32:23-35. Martin B, Ji S, Maudsley S, Mattson MP. 2010. “Control” laboratory rodents are metabolically morbid: Why it matters. Proc Nat Acad Sci USA 107:6127-6133. Mason G, Littin KE. 2003. The humaneness of rodent pest control. Anim Welf 12:1-37. Matthews M, Trevarrow B, Matthews J. 2002. A virtual tour of the guide for zebrafish users. Lab Anim 31:34-40. McCune S. 1997. Enriching the environment of the laboratory cat: A review. In: Proceedings of the Second International Conference on Environmental Enrichment, August 21-25, 1995, Copenhagen Zoo, Denmark. p 103-117. McGlone JJ, Anderson DL, Norman RL. 2001. Floor space needs for laboratory mice: BALB/ cJ males or females in solid-bottom cages with bedding. Contemp Top Lab Anim Sci 40:21-25. Meerburg BG, Brom FWA, Kijlstra A. 2008. The ethics of rodent control. Pest Manag Sci 64:1205-1211. Meier TR, Maute CJ, Cadillac JM, Lee JY, Righter DJ, Hugunin KMS, Deininger RA, Dysko RC. 2008. Quantification, distribution, and possible source of bacterial biofilm in mouse automated watering systems. JAVMA 42:63-70. Memarzadeh F, Harrison PC, Riskowski GL, Henze T. 2004. Comparisons of environment and mice in static and mechanically ventilated isolator cages with different air velocities and ventilation designs. Contemp Top Lab Anim Sci 43:14-20. MGI [Mouse Genome Informatics]. 2009. Guidelines for Nomenclature of Genes, Genetic Markers, Alleles, and Mutations in Mouse and Rat. International Committee on Standardized Genetic Nomenclature for Mice and Rat Genome and Nomenclature Committee. Available at www.informatics.jax.org/mgihome/nomen/gene.shtml; accessed May 10, 2010. Moore BJ. 1987. The California diet: An inappropriate tool for studies of thermogenesis. J Nutrit 117:227-231.

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 97 Murphy RGL, Scanga JA, Powers BE, Pilon JL, VerCauteren KC, Nash PB, Smith GC, Belk KE. 2009. Alkaline hydrolysis of mouse-adapted scrapie for inactivation and disposal of prionpositive aterial. J Anim Sci 87:1787-1793. Nadelkov M. 1996. EPA impact on pathological incineration: What will it take to comply? Lab Anim 25:35-38. NAFA [National Air Filtration Association]. 1996. NAFA Guide to Air Filtration, 2nd ed. Virginia Beach. NASA [National Aeronautics and Space Administration]. 1988. Summary of conclusions reached in workshop and recommendations for lighting animal housing modules used in microgravity related projects. In: Holley DC, Winget CM, Leon HA, eds. Lighting Requirements in Microgravity: Rodents and Nonhuman Primates. NASA Technical Memorandum 101077. Moffett Field, CA: Ames Research Center. p 5-8. Nayfield KC, Besch EL. 1981. Comparative responses of rabbits and rats to elevated noise. Lab Anim Sci 31:386-390. Nevalainen T, Vartiainen T. 1996. Volatile organic compounds in commonly used beddings before and after autoclaving. Scand J Lab Anim Sci 23:101-104. Newberne PM. 1975. Influence on pharmacological experiments of chemicals and other factors in diets of laboratory animals. Fed Proc 34:209-218. Newberry RC. 1995. Environmental enrichment: Increasing the biological relevance of captive environments. Appl Anim Beh Sci 44:229-243. Newbold JA, Chapin LT, Zinn SA, Tucker HA. 1991. Effects of photoperiod on mammary development and concentration of hormones in serum of pregnant dairy heifers. J Dairy Sci 74:100-108. Nickum JG, Bart HL Jr, Bowser PR. 2004. Guidelines for the Use of Fishes in Research. Bethesda, MD: American Fisheries Society. Njaa LR, Utne F, Braekkan OR. 1957. Effect of relative humidity on rat breeding and ringtail. Nature 180:290-291. Novak MA, Meyer JS, Lutz C, Tiefenbacher S. 2006. Deprived environments: Developmental insights from primatology. In: Mason G, Rushen J, eds. Stereotypic Animal Behaviour: Fundamentals and Applications to Welfare. Wallingford, UK: CABI. p 153-189. Novak MF, Kenney C, Suomi SJ, Ruppenthal GC. 2007. Use of animal-operated folding perches by rhesus macaques (Macaca mulatta). JAALAS 46:35-43. NRC [National Research Council]. 1974. Amphibians: Guidelines for the Breeding, Care and Management of Laboratory Animals. Washington: National Academy of Sciences. NRC. 1977. Nutrient Requirements of Rabbits, 2nd rev ed. Washington: National Academy Press. NRC. 1979a. Laboratory Animal Records. Washington: National Academy Press. NRC. 1979b. Laboratory animal management: Genetics. ILAR News 23(1):A1-A16. NRC. 1982. Nutrient Requirements of Mink and Foxes, 2nd rev ed. Washington: National Academy Press. NRC. 1989. Biosafety in the Laboratory: Prudent Practices for the Handling and Disposal of Infectious Materials. Washington: National Academy Press. NRC. 1993. Nutrient Requirements of Fish. Washington: National Academy Press. NRC. 1994. Nutrient Requirements of Poultry, 9th rev ed. Washington: National Academy Press. NRC. 1995a. Nutrient Requirements of Laboratory Animals, 4th rev ed. Washington: National Academy Press. NRC. 1995b. Prudent Practices in the Laboratory: Handling and Disposal of Chemicals. Washington: National Academy Press. NRC. 1996. Laboratory Animal Management: Rodents. Washington: National Academy Press.

98 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง NRC. 1998a. Psychological Well-being of Nonhuman Primates. Washington: National Academy Press. NRC. 1998b. Nutrient Requirements of Swine, 10th rev ed. Washington: National Academy Press. NRC. 2000. Nutrient Requirements of Beef Cattle, 7th rev ed: Update 2000. Washington: National Academy Press. NRC. 2001. Nutrient Requirements of Dairy Cattle, 7th rev ed. Washington: National Academy Press. NRC. 2003a. Nutrient Requirements of Nonhuman Primates, 2nd rev ed. Washington: National Academies Press. NRC. 2003b. Guidelines for the Care and Use of Mammals in Neuroscience and Behavioral Research. Washington: National Academies Press. NRC. 2006a. Preparation of Animals for Use in the Laboratory. ILAR J 43:281-375. NRC. 2006b. Nutrient Requirements of Dogs and Cats. Washington: National Academies Press. NRC. 2006c. Nutrient Requirements of Horses, 6th rev ed. Washington: National Academies Press. NRC. 2007. Nutrient Requirements of Small Ruminants: Sheep, Goats, Cervids, and New World Camelids. Washington: National Academies Press. Olivier B, Molewijk E, van Oorschot R, van der Poel G, Zethof T, van der Heyden J, Mos J. 1994. New animal models of anxiety. Eur Neuropsychopharmacol 4:93-102. Olson LC, Palotay JL. 1983. Epistaxis and bullae in cynomolgus macaques (Macaca fascicularis). Lab Anim Sci 33:377-379. Olsson IA, Dahlborn, K. 2002. Improving housing conditions for laboratory mice: A review of “environmental enrichment.” Lab Anim 36:243-270. OSHA [Occupational Safety and Health Administration]. 1998. Occupational Safety and Health Standards. Subpart G, Occupational Health and Environmental Controls, Occupational Noise Exposure (29 CFR 1910.95). Washington: Department of Labor. O’Steen WK. 1980. Hormonal influences in retinal photodamage. In: Williams TP, Baker BN, eds. The Effects of Constant Light on Visual Processes. New York: Plenum Press. p29-49. Overall KL, Dyer D. 2005. Enrichment strategies for laboratory animals from the viewpoint of clinical behavioural veterinary medicine: Emphasis on cats and dogs. ILAR J 46:202-215. Overstreet RM, Barnes SS, Manning CS, Hawkins W. 2000. Facilities and husbandry (small fish model). In: Ostrander GK, ed. The Laboratory Fish. San Francisco: Academic Press. p 41-63. Parker A, Wilfred A, Hidell T. 2003. Environmental monitoring: The key to effective sanitation. Lab Anim 32:26-29. Peace TA, Singer AW, Niemuth NA, Shaw ME. 2001. Effects of caging type and animal source on the development of foot lesions in Sprague-Dawley rats (Rattus norvegicus). Contemp Top Lab Anim Sci 40:17-21. Pekrul D. 1991. Noise control. In: Ruys T, ed. Handbook of Facilities Planning, vol 2: Laboratory Animal Facilities. New York: Van Nostrand Reinhold. p 166-173. Pennycuik PR. 1967. A comparison of the effects of a range of high environmental temperatures and of two different periods of acclimatization on the reproductive performances of male and female mice. Aust J Exp Biol Med Sci 45:527-532. Perez C, Canal JR, Dominguez E, Campillo JE, Guillen M, Torres MD. 1997. Individual housing influences certain biochemical parameters in the rat. Lab Anim 31:357-361.

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 99 Perkins SE, Lipman NS. 1995. Characterization and qualification of microenvironmental contaminants in isolator cages with a variety of contact bedding. Contemp Top Lab Anim Sci 34:93-98. Peterson EA. 1980. Noise and laboratory animals. Lab Anim Sci 30:422-439. Peterson EA, Augenstein JS, Tanis DC, Augenstein DG. 1981. Noise raises blood pressure without impairing auditory sensitivity. Science 211:1450-1452. Pfaff J, Stecker M. 1976. Loudness levels and frequency content of noise in the animal house. Lab Anim 10:111-117. Poiley SM. 1960. A systematic method of breeder rotation for non-inbred laboratory animal colonies. Proc Anim Care Panel 10:159-166. Poole T. 1998. Meeting a mammal’s psychological needs. In: Shepherdson DJ, Mellen JD, Hutchins M, eds. Second Nature: Environmental Enrichment for Captive Animals. Washington: Smithsonian Institute Press. p 83-94. Pough FH. 1991. Recommendations for the care of amphibians and reptiles in academic institutions. ILAR J 33:1-16. Pough FH. 2007. Amphibian biology and husbandry. ILAR J 48:203-213. Raje S. 1997. Group housing for male New Zealand white rabbits. Lab Anim 26:36‑38. Ras T, van de Ven M, Patterson-Kane EG, Nelson K. 2002. Rats’ preferences for corn versus wood-based bedding and nesting materials. Lab Anim 36:420-425. Rasmussen S, Glickman G, Norinsky R, Quimby F, Tolwani RJ. 2009. Construction noise decreases reproductive efficiency in mice. JAALAS 48:263-270. Reeb CK, Jones R, Bearg D, Bedigan H, Myers D, Paigen B. 1998. Microenvironment in ventilated cages with differing ventilation rates, mice populations and frequency of bedding changes. JAALAS 37:70-74. Reeb-Whitaker CK, Paigen B, Beamer WG, Bronson RT, Churchill GA, Schweitzer IB, Myers DD. 2001. The impact of reduced frequency of cage changes on the health of mice housed in ventilated cages. Lab Anim 35:58-73. Reinhardt V. 1997. Training nonhuman primates to cooperate during handling procedures: A review. Anim Tech 48:55-73. Reme CE, Wirz-Justice A, Terman M. 1991. The visual input stage of the mammalian circadian pacemaking system. I: Is there a clock in the mammalian eye? J Biol Rhythms 6:5-29. Rennie AE, Buchanan-Smith HM. 2006. Refinement of the use of non-human primates in scientific research. Part I: The influence of humans. Anim Welf 15:203-213. Richmond JY, Hill RH, Weyant RS, Nesby-O‘Dell SL, Vinson PE. 2003. What’s hot in animal biosafety? ILAR J 44:20-27. Roberts-Thomson A, Barnes A, Filder DS, Lester RJG, Adlard RD. 2006. Aerosol dispersal of the fish pathogen Amyloodinium ocellatum. Aquaculture 257:118-123. Rock FM, Landi MS, Hughes HC, Gagnon RC. 1997. Effects of caging type and group size on selected physiologic variables in rats. Contemp Top Lab Anim Sci 36:69-72. Rollin BE. 1990. Ethics and research animals: Theory and practice. In: Rollin B, Kesel M, eds. The Experimental Animal in Biomedical Research, vol I: A Survey of Scientific and Ethical Issues for Investigators. Boca Raton, FL: CRC Press. p 19-36. Rommers J, Meijerhof R. 1996. The effect of different floor types on foot pad injuries of rabbit does. In: Proceedings of the 6th World Rabbit Science Congress 1996, Toulouse. p 431-436. Russell RJ, Festing MFW, Deeny AA, Peters AG. 1993. DNA fingerprinting for genetic monitoring of inbred laboratory rats and mice. Lab Anim Sci 43:460-465. Sales GD. 1991. The effect of 22 kHz calls and artificial 38 kHz signals on activity in rats. Behav Proc 24:83-93. Sales GD, Milligan SR, Khirnykh K. 1999. Sources of sound in the laboratory animal environment: A survey of the sounds produced by procedures and equipment. Anim Welf 8:97-115.

100 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง Saltarelli DG, Coppola CP. 1979. Influence of visible light on organ weights of mice. Lab Anim Sci 29:319-322. Sanford AN, Clark SE, Talham G, Sidelsky MG, Coffin SE. 2002. Influence of bedding type on mucosal immune responses. Comp Med 52:429-432. Schaefer DC, Asner IN, Seifert B, Bürki K, Cinelli P. 2010. Analysis of physiological and behavioural parameters in mice after toe clipping as newborns. Lab Anim 44:7-13. Schlingmann F, De Rijk SHLM, Pereboom WJ, Remie R. 1993a. Avoidance as a behavioural parameter in the determination of distress amongst albino and pigmented rats at various light intensities. Anim Tech 44:87-107. Schlingmann F, Pereboom W, Remie R. 1993b.The sensitivity of albino and pigmented rats to light. Anim Tech 44:71-85. Schoeb TR, Davidson MK, Lindsey JR. 1982. Intracage ammonia promotes growth of mycoplasma pulmonis in the respiratory tract of rats. Infect Immun 38:212-217. Schondelmeyer CW, Dillehay DL, Webb SK, Huerkamp MJ, Mook DM, Pullium JK. 2006. In- vestigation of appropriate sanitization frequency for rodent caging accessories: Evidence supporting less-frequent cleaning. JAALAS 45:40-43. Schultz TW, Dawson DA. 2003. Housing and husbandry of Xenopus for oocyte production. Lab Anim 32:34-39. Semple-Rowland SL, Dawson WW. 1987. Retinal cyclic light damage threshold for albino rats. Lab Anim Sci 37:289-298. Sherwin CM. 2002. Comfortable quarters for mice in research institutions. In: Reinhardt V, Reinhardt A, eds. Comfortable Quarters for Laboratory Animals, 9th ed. Washington: Animal Welfare Institute. p 6-17. Smith AL, Mabus SL, Stockwell JD, Muir C. 2004. Effects of housing density and cage floor space on C57BL/6J mice. Comp Med 54:656-663. Smith AL, Mabus SL, Muir C, Woo Y. 2005. Effect of housing density and cage floor space on three strains of young adult inbred mice. Comp Med 55:368-376. Smith E, Stockwell JD, Schweitzer I, Langley SH, Smith AL. 2004. Evaluation of cage micro- environment of mice housed on various types of bedding materials. Contemp Top Lab Anim Sci 43:12-17. Smith JL, Boyer GL, Zimba PV. 2008. A review of cyanobacterial odorous and bioactive metabolites: Impacts and management alternatives in aquaculture. Aquaculture 280:5-20. Smith ME, Kane AD, Popper AN. 2007. Noise-induced stress responsive and hearing loss in goldfish (Carassius auratus). J Exp Biol 207:427-435. Speedie N, Gerlai R. 2008. Alarm substance induced behavioral responses in zebrafish (Danio rerio). Behav Brain Res 188:168-177. Spence R, Gerlach G, Lawrence C, Smith C. 2008. The behavior and ecology of the zebrafish, Danio rerio. Biol Rev 83:13-34. St. Claire MB, Kennett MJ, Thomas ML, Daly JW. 2005. The husbandry and care of dendrobatid frogs. Contemp Top Lab Anim Sci 44:8-14. Stauffacher M. 1992. Group housing and enrichment cages for breeding, fattening and laboratory rabbits. Anim Welf 1:105-125. Stoskopf MK. 1983. The physiological effects of psychological stress. Zoo Biol 2:179-190. Subramanian S, MacKinnon SL, Ross NW. 2007. A comparative study on innate immune parameters in the epidermal mucus of various fish species. Comp Biochem Physiol B Biochem Mol Biol 148:256-263. Suckow MA, Doerning BJ. 2007. Assessment of veterinary care. In: Silverman J, Suckow MA, Murthy S, eds. The IACUC Handbook, 2nd ed.. Boca Raton, FL: CRC Press. Terman M, Reme CE, Wirz-Justice A. 1991. The visual input stage of the mammalian circadian pacemaking sytem II: The effect of light and drugs on retinal function. J Biol Rhythms 6:31-48.

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 101 Thigpen JE, Lebetkin EH, Dawes ML, Clark JL, Langley CL, Amy HL, Crawford D. 1989. A standard procedure for measuring rodent bedding particle size and dust content. Lab Anim Sci 39:60-62. Thigpen JE, Setchell KDR, Ahlmark KB, Locklear J, Spahr T, Caviness GF, Goelz MF, Haseman JK, Newbold RR, Forsythe DB. 1999. Phytoestrogen content of purified, open- and closed- formula laboratory animal diets. Lab Anim Sci 49:530-539. Thigpen JE, Setchell KDR, Saunders HE, Haseman JK, Grant MG, Forsythe DB. 2004. Selecting the appropriate rodent diet for endocrine disruptor research and testing studies. ILAR J 45:401-416. Tompkins JA, Tsai C. 1976. Survival time and lethal exposure time for the blacknose dace exposed to free chlorine and chloramines. Trans Am Fish Soc 105:313-321. Torreilles SL, Green SL. 2007. Refuge cover decreases the incidence of bite wounds in laboratory South African clawed frogs (Xenopus laevis). JAALAS 46:33-36. Torronen R, Pelkonen K, Karenlampi S. 1989. Enzyme-inducing and cytotoxic effects of woodbased materials used as bedding for laboratory animals: Comparison by a cell culture study. Life Sci 45:559-565. Totten M. 1958. Ringtail in newborn Norway rats: A study of the effect of environmental temperature and humidity on incidence. J Hygiene 56:190-196. Tsai PP, Stelzer HD, Hedrich HJ, Hackbarth H. 2003. Are the effects of different enrichment designs on the physiology and behaviour of DBA/2 mice consistent? Lab Anim 37:314-327. Tsutsui S, Tasumi S, Suetake H, Kikuchi K, Suzuki Y. 2005. Demonstration of the mucosal lectins in the epithelial cells of internal and external body surface tissues in pufferfish (Fugurubripes). Dev Comp Immun 29:243-253. Tucker HA, Petitclerc D, Zinn SA. 1984. The influence of photoperiod on body weight gain, body composition, nutrient intake and hormone secretion. J Anim Sci 59:1610-1620. Turner JG, Bauer CA, Rybak LP. 2007. Noise in animal facilities: Why it matters. JAALAS 46:10-13. Turner RJ, Held SD, Hirst JE, Billinghurst G, Wootton RJ. 1997. An immunological assessment of group-housed rabbits. Lab Anim 31:362-372. Twaddle NC, Churchwell MI, McDaniel LP, Doerge DR. 2004. Autoclave sterilization produces acrylamide in rodent diets: Implications for toxicity testing. J Agric Food Chem 52:4344-4349. USDA [US Department of Agriculture]. 1985. 9 CFR 1A. (Title 9, Chapter 1, Subchapter A): Animal Welfare. Available at http://ecfr.gpoaccess.gov/cgi/t/text/text-idx?sid=8314313bd 7adf2c9f1964e2d82a88d92andc=ecfrandtpl=/ecfrbrowse/Title09/9cfrv1_02.tpl; accessed January 14, 2010. van de Nieuwegiessen PG, Boerlage AS, Verreth JAJ, Schrama AW. 2008. Assessing the effects of a chronic stressor, stocking density, on welfare indicators of juvenile African catfish, Clarias gariepinus Burchell. Appl Anim Behav Sci 115:233-243. van den Bos R, de Cock Buning T. 1994. Social behaviour of domestic cats (Felis lybica catus L.): A study of dominance in a group of female laboratory cats. Ethology 98:14-37. Van Loo PL, Mol JA, Koolhaas JM, Van Zutphen BM, Baumans V. 2001. Modulation of aggression in male mice: Influence of group size and cage size. Physiol Behav 72:675-683. Van Loo PL, Van de Weerd HA, Van Zutphen LF, Baumans V. 2004. Preference for social contact versus environmental enrichment in male laboratory mice. Lab Anim 38:178-188. van Praag H, Kempermann G, Gage FH. 2000. Neural consequences of environmental enrichment. Nat Rev Neurosci 1:191-198. Verma RK. 2002. Advances on cockroach control. Asian J Microbiol, Biotech Environ Sci 4:245-249.

102 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง Vesell ES. 1967. Induction of drug-metabolizing enzymes in liver microsomes of mice and rats by softwood bedding. Science 157:1057-1058. Vesell ES, Lang CM, White WJ, Passananti GT, Tripp SL. 1973. Hepatic drug metabolism in rats: Impairment in a dirty environment. Science 179:896-897. Vesell ES, Lang CM, White WJ, Passananti GT, Hill RN, Clemen TL, Liu DL, Johnson WD. 1976. Environmental and genetic factors affecting response of laboratory animals to drugs. Fed Proc 35:1125-1132. Vlahakis G. 1977. Possible carcinogenic effects of cedar shavings in bedding of C3H-AvyfB mice. J Natl Cancer Inst 58:149-150. Vogelweid CM. 1998. Developing emergency management plans for university laboratory animal programs and facilities. Contemp Top Lab Anim Sci 37:52-56. Waiblinger E. 2002. Comfortable quarters for gerbils in research institutions. In: Reinhardt V, Reinhardt A, eds. Comfortable Quarters for Laboratory Animals, 9th ed. Washington: Animal Welfare Institute. p 18-25. Wardrip CL, Artwohl JE, Bennett BT. 1994. A review of the role of temperature versus time in an effective cage sanitation program. Contemp Top Lab Anim Sci 33:66-68. Wardrip CL, Artwohl JE, Oswald J, Bennett BT. 2000. Verification of bacterial killing effects of cage wash time and temperature combinations using standard penicylinder methods. Contemp Top Lab Anim Sci 39:9-12. Wax TM. 1977. Effects of age, strain, and illumination intensity on activity and self-selection of light-dark schedules in mice. J Comp Physiol Psychol 91:51-62. Wedemeyer GA. 2000. Chlorination/dechlorination. In: Stickney RR, ed. Encyclopaedia of Aquaculture. Chichester: John Wiley and Sons. p 172-174. Weed JL, Watson LM. 1998. Pair housing adult owl monkeys (Aotus sp.) for environmental enrichment. Am J Primatol 45:212. Weichbrod RH, Hall JE, Simmonds RC, Cisar CF. 1986. Selecting bedding material. Lab Anim 15:25-29. Weichbrod RH, Cisar CF, Miller JG, Simmonds RC, Alvares AP, Ueng TH. 1988. Effects of cage beddings on microsomal oxidative enzymes in rat liver. Lab Anim Sci 38:296-298. Weihe WH. 1971. Behavioural thermoregulation in mice with change of cooling power of the air. Int J Biometeorol 15:356-361. Weindruch R, Walford RL. 1988. The Retardation of Aging and Disease by Dietary Restriction. Springfield, IL: Charles C Thomas. White WJ, Hawk CT, Vasbinder MA. 2008. The use of laboratory animals in toxicology research. In: Hays AW, ed. Principles and Methods in Toxicology, 5th ed. Boca Raton, FL: CRC Press. p 1055- 1101. Williams LE, Steadman A, Kyser B. 2000. Increased cage size affects Aotus time budgets and partner distances. Am J Primatol 51(Suppl 1):98. Williams-Blangero S. 1991. Recent trends in genetic research on captive and wild nonhuman primate populations. Yearb Phys Anthropol 34:69-96. Williams-Blangero S. 1993. Research-oriented genetic management of nonhuman primate colonies. Lab Anim Sci 43:535-540. Willott JF. 2007. Factors affecting hearing in mice, rats, and other laboratory animals. JAALAS 46:23-27. Wolfensohn S. 2004. Social housing of large primates: Methodology for refinement of husbandry and management. Altern Lab Anim 32(Suppl 1A):149-151. Wolfer DP, Litvin O, Morf S, Nitsch RM, Lipp HP, Würbel H. 2004. Laboratory animal welfare: Cage enrichment and mouse behaviour. Nature 432:821-822. Wolff A, Rupert G. 1991. A practical assessment of a nonhuman primate exercise program. Lab Anim 20:36-39.

สภาพแวดล้อม ที่อยู่ และ การจัดการสัตว์ 103 Wooster GA, Bowser PR. 2007. The aerobiological pathway of a fish pathogen: Survival and disseminaton of Aeromonas salmonicida in aerosols and its implications in fish health management. J World Aquacul Soc 27:7-14. Würbel H. 2001. Ideal homes? Housing effects on rodent brain and behaviour. Trends Neurosci 24:207-211. Yanong RPE. 2003. Fish health management considerations in recirculating aquaculture systems, part 2: Pathogens. IFAS, University of Florida. Available at www.aces.edu/dept/fisheries/ aquaculture/documents/fishhealth2.pdf; accessed April 15, 2010. Yildiz A, Hayirli A, Okumus Z, Kaynar O, Kisa F. 2007. Physiological profile of juvenile rats: Effects of cage size and cage density. Lab Anim 36:28-38. Young RJ. 2003. Environmental Enrichment for Captive Animals. UFAW Animal Welfare Series. London: Blackwell Science.

Next: 4 (Veterinary Care) »
Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version Get This Book
×
MyNAP members save 10% online.
Login or Register to save!
Download Free PDF

This report is the Thai translation of Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition.

A respected resource for decades, the Guide for the Care and Use of Laboratory Animals has been updated by a committee of experts, taking into consideration input from the scientific and laboratory animal communities and the public at large. The Guide incorporates new scientific information on common laboratory animals, including aquatic species, and includes extensive references. It is organized around major components of animal use:

  • Key concepts of animal care and use. The Guide sets the framework for the humane care and use of laboratory animals.
  • Animal care and use program. The Guide discusses the concept of a broad Program of Animal Care and Use, including roles and responsibilities of the Institutional Official, Attending Veterinarian and the Institutional Animal Care and Use Committee.
  • Animal environment, husbandry, and management. A chapter on this topic is now divided into sections on terrestrial and aquatic animals and provides recommendations for housing and environment, husbandry, behavioral and population management, and more.
  • Veterinary care. The Guide discusses veterinary care and the responsibilities of the Attending Veterinarian. It includes recommendations on animal procurement and transportation, preventive medicine (including animal biosecurity), and clinical care and management. The Guide addresses distress and pain recognition and relief, and issues surrounding euthanasia.
  • Physical plant. The Guide identifies design issues, providing construction guidelines for functional areas; considerations such as drainage, vibration and noise control, and environmental monitoring; and specialized facilities for animal housing and research needs.

The Guide for the Care and Use of Laboratory Animals provides a framework for the judgments required in the management of animal facilities. This updated and expanded resource of proven value will be important to scientists and researchers, veterinarians, animal care personnel, facilities managers, institutional administrators, policy makers involved in research issues, and animal welfare advocates.

  1. ×

    Welcome to OpenBook!

    You're looking at OpenBook, NAP.edu's online reading room since 1999. Based on feedback from you, our users, we've made some improvements that make it easier than ever to read thousands of publications on our website.

    Do you want to take a quick tour of the OpenBook's features?

    No Thanks Take a Tour »
  2. ×

    Show this book's table of contents, where you can jump to any chapter by name.

    « Back Next »
  3. ×

    ...or use these buttons to go back to the previous chapter or skip to the next one.

    « Back Next »
  4. ×

    Jump up to the previous page or down to the next one. Also, you can type in a page number and press Enter to go directly to that page in the book.

    « Back Next »
  5. ×

    To search the entire text of this book, type in your search term here and press Enter.

    « Back Next »
  6. ×

    Share a link to this book page on your preferred social network or via email.

    « Back Next »
  7. ×

    View our suggested citation for this chapter.

    « Back Next »
  8. ×

    Ready to take your reading offline? Click here to buy this book in print or download it as a free PDF, if available.

    « Back Next »
Stay Connected!