National Academies Press: OpenBook
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R1
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R2
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R3
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R4
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R5
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R6
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R7
Page viii Cite
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R8
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R9
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R10
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R11
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R12
Page xiii Cite
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R13
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R14
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R15
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R16
Page xvii Cite
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R17
Page xviii Cite
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R18
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R19
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R20
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R21
Page xxii Cite
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R22
Page xxiii Cite
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R23
Page xxiv Cite
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R24
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R25
Page xxvi Cite
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R26
Page xxvii Cite
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R27
Page xxviii Cite
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R28
Page xxix Cite
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R29
Suggested Citation:"Front Matter." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page R30

Below is the uncorrected machine-read text of this chapter, intended to provide our own search engines and external engines with highly rich, chapter-representative searchable text of each book. Because it is UNCORRECTED material, please consider the following text as a useful but insufficient proxy for the authoritative book pages.

สภาวิจัยแห่งชาติ สหรัฐอเมริกา NATIONAL RESEARCH COUNCIL OF THE NATIONAL ACADEMIES

ISBN 978-616-305-621-4 GUIDE FOR THE CARE AND USE OF LABORATORY ANIMALS Eight Edition ข้อแนะนำ�สำ�หรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 8 ผู้แปล: สพ.ญ. มณทิพย์ เจตยะคามิน ผู้ทบทวน: สพ.ญ. รวิวรรณ อิ่มเอิบสิน สพ.ญ. นวขนิษฐ์ สัจจานนท์ สพ.ญ. วันทนีย์ รัตนศักดิ์ รศ. น.สพ. ปานเทพ รัตนากร ได้รับอนุญาตให้จัดพิมพ์จากเจ้าของลิขสิทธิ์โดยถูกต้องตามกฎหมาย จัดพิมพ์โดยสมาคมวิทยาศาสตร์สัตว์ทดลองแห่งประเทศไทย This is a translation of Guide for the Care and Use of Laboratory Animals, Committee for the Update of the Guide for the Care and Use of Laboratory Animals, Institute of Laboratory Animal Research, Division on Earth and Life Science, National Research Council of the National Academies © 2011 National Academy of Science. First published in English by the National Academies Press. All rights reserved. พิมพ์: บริษัทพี. รุ่งโรจน์การพิมพ์ จำ�กัด 844/7-9 ซอย 25 (ซอยอุรุพงษ์ 1) ถนนพระรามที่ 6 แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2215-5482

คณะกรรมการเพื่อปรับปรุงข้อแนะนำ�สำ�หรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง Committee for the Update of the Guide of the Care and Use of Laboratory Animals สถาบันเพื่อการวิจัยสัตว์ทดลอง Institute of Laboratory Animal Research กองโลกและวิทยาศาสตร์ชีวภาพ Division on Earth and Life Sciences สภาวิจัยแห่งชาติ ของบัณฑิตยสภาแห่งชาติ NATIONAL RESEARCH COUNCIL OF THE NATIONAL ACADEMIES โรงพิมพ์บัณฑิตยสถานแห่งชาติ National Academies Press วอชิงตัน, ดีซี Washington, D.C. www.nap.edu

โรงพิมพ์ บัณฑิตยสถานแห่งชาติ 500 ถนนห้า, ตะวันตกเฉียงเหนือ, วอชิงตัน, ดีซี 20001 ประกาศ : โครงการซึ่งเป็นเรื่องของรายงานฉบับนี้ได้รับการอนุมัติโดยคณะกรรมการบริหารของสภาวิจัยแห่ง ชาติ ซึ่งสมาชิกมาจาก บัณฑิตยสภาวิทยาศาสตร์แห่งชาติ บัณฑิตยสภาวิศวกรรมแห่งชาติ และสถาบัน อายุรศาสตร์ สมาชิกของคณะกรรมการที่มีความรับผิดชอบต่อรายงานฉบับนี้ได้รับการคัดเลือกตามความ เชี่ยวชาญพิเศษและด้วยการสมดุลอย่างเหมาะสม การศึกษาครั้งนี้ ได้รับการสนับสนุนจากสำ�นักงานเพื่อการวิจัยนอกระบบ สำ�นักงานผู้อำ�นวยการ สถาบัน สุขภาพแห่งชาติ (NIH) กระทรวงสุขภาพและบริการบุคคล สัญญาเลขที่ N01-OD-4-2139 งานเลขที่ 188; สำ�นักงานความมันคงการวิจย กระทรวงสุขภาพและบริการบุคคล; สำ�นักงานตรวจสอบสัตว์และพืช กระทรวง ่ ั เกษตรของสหรัฐ (USDA); สมาคมเพือการประเมินและการรับรองมาตรฐานการดูแลสัตว์ทดลองสากล; สมาคม ่ วิทยาศาสตร์สัตว์ทดลองแห่งอเมริกา; ทุนแอบบอท (Abbot Fund); บริษัทไฟเซอร์; วิทยาลัยอายุรศาสตร์สัตว์ ทดลองแห่งอเมริกา; สมาคมสัตวแพทย์ด้านสัตว์ทดลองแห่งอเมริกา; สมาคมสัตวแพทย์จ�เพาะสัตว์พวกลิง ำ ข้อคิดเห็น ผลการค้นคว้า ข้อสรุปหรือข้อแนะนำ� ทีได้แสดงไว้ในหนังสือฉบับนีเป็นของคณะผูแต่งและไม่จ�เป็น ่ ้ ้ ำ ต้องแสดงวิสัยทัศน์ขององค์การหรือหน่วยงานต่างๆผู้ให้การสนับสนุนโครงการ เนื้อหาของหนังสือฉบับนี้ไม่ จำ�เป็นต้องแสดงวิสัยทัศน์หรือนโยบายของสถาบันสุขภาพแห่งชาติ รวมทั้งไม่กล่าวถึงชื่อเครื่องหมายการค้า ผลิตภัณฑ์ทางการค้าต่างๆ หรือองค์การอื่นๆที่แสดงว่าอุดหนุนโดยรัฐบาลสหรัฐฯ หนังสือสากล เลขที่ 13: 978-0-309-15400-0 (หนังสือ) หนังสือสากล เลขที่ 10: 0-309-15400-6 (หนังสือ) หนังสือสากล เลขที่ 13: 978-0-309-15401-7 (PDF) หนังสือสากล เลขที่ 10: 0-309-15401-4 (PDF) ห้องสมุดรัฐสภา เลขที่ควบคุม: 2010940400 ขอรายงานฉบับนี้ได้อีก ที่โรงพิมพ์บัณฑิตยสถานแห่งชาติ 500 ถนนห้า, ตะวันตกเฉียงเหนือ, ลอกบ็อกซ์ 145,วอชิงตัน, ดีซี 20055; โทร (800) 624-6242 หรือ (202) 334-3313 (ภายในกรุงวอชิงตัน); http://www.nap.edu สงวนลิขสิทธิ์ 2011 โดยสภาวิชาการวิทยาศาสตร์แห่งชาติ สงวนลิขสิทธิ์ทั้งหมด พิมพ์ในสหรัฐอเมริกา

บัณฑิตยสภาแห่งชาติ ผู้เป็นที่ปรึกษาแห่งชาติในด้าน วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และ อายุรศาสตร์ บัณฑิตยสภาวิทยาศาสตร์แห่งชาติ เป็นสมาคมส่วนบุคคลที่ไม่หวังผลกำ�ไรและคงอยู่ได้ด้วยตนเองโดยได้ รับทุนในการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม อุทิศให้ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและ คุณประโยชน์ของสิ่งเหล่านั้นต่อสวัสดิการโดยทั่วไป ด้วยเหตุผลนี้อำ�นาจแต่งตั้งอย่างเป็นทางการได้มาจาก รัฐสภา ในปี ค.ศ. 1863 สภาฯต้องให้ค�ปรึกษาแก่รฐบาลกลางเกียวกับเรืองวิทยาศาสตร์และเทคนิค ประธาน ำ ั ่ ่ สภาวิชาการวิทยาศาสตร์แห่งชาติได้แก่ ดร.ราล์ฟ เจ. ซิเซโรน บัณฑิตยสภาวิศวกรรมแห่งชาติ สถาปนาขึนในปี ค.ศ. 1964 ภายใต้การแต่งตังของบัณฑิตยสภาวิทยาศาสตร์ ้ ้ แห่งชาติ โดยเป็นองค์การคู่ขนานของนักวิศวกรดีเด่น การปกครองเป็นอิสระในการบริหารงานและการคัด เลือกสมาชิก รับผิดชอบแนะนำ�รัฐบาลกลางร่วมกับบัณฑิตยสภาวิทยาศาสตร์ บัณฑิตยสภาวิศวกรรมแห่งชาติ ให้ทุนสนับสนุนโครงการทางวิศวกรรมเพื่อบรรลุความจำ�เป็นของชาติ ส่งเสริมการศึกษาและการวิจัย และ ยกย่องการประสพความสำ�เร็จสูงสุดของวิศวกร ดร. ชาร์ล เวสท์ ดำ�รงตำ�แหน่งประธานบัณฑิตยสภาวิศวกรรม แห่งชาติ สถาบันอายุรศาสตร์ สถาปนาขึ้นในปี ค.ศ. 1970 โดยบัณฑิตยสภาวิทยาศาสตร์แห่งชาติ เพื่อให้เกิดความ มั่นคงของการบริการต่างๆจากสมาชิกที่มีชื่อเสียงดีเด่นทางวิชาชีพที่เหมาะสม ในการพิจารณาเรื่องนโยบาย เกียวกับสุขภาพสาธารณะ สถาบันแสดงบทบาทภายใต้การมอบความรับผิดชอบให้แก่สภาวิชาการวิทยาศาสตร์ ่ โดยการแต่งตั้งจากรัฐสภาเพื่อเป็นผู้แนะนำ�รัฐบาลกลาง และจากวัตถุประสงค์แรกเริ่มของสถาบัน เพื่อระบุ ประเด็นการดูแลทางการแพทย์ การวิจัยและการศึกษา ดร. ฮาร์วีย์ วี. ฟายน์เบิร์ก ดำ�รงตำ�แหน่งเป็นประธาน สถาบันอายุรศาสตร์ สภาวิจัยแห่งชาติ สถาปนาขึ้นโดยบัณฑิตยสภาวิทยาศาสตร์แห่งชาติ ในปี ค.ศ. 1916 เพื่อให้มีส่วนร่วมทาง สังคมอย่างกว้างขวางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมกับวัตถุประสงค์ของบัณฑิตยสภาเพื่อการเพิ่มพูน ความรู้อย่างกว้างขวางและการแนะนำ�รัฐบาลกลาง การทำ�หน้าที่ตามนโยบายทั่วไปที่สภาพิจารณา สภาได้ กลายเป็นหน่วยงานหลักของบัณฑิตยสภาวิทยาศาสตร์แห่งชาติและบัณฑิตยสภาวิศวกรรมแห่งชาติ ให้การ บริการต่างๆสู่รัฐบาล สาธารณะ และสังคมวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม การบริหารสภาฯ ทำ�ร่วมกับบัณฑิตย สภาทั้งสองแห่งและสถาบันอายุรศาสตร์โดยมี ดร.ราล์ฟ เจ. ซิเซโรนและ ดร. ชาร์ล เอ็ม. เวสท์ เป็นประธาน และรองประธานของสภาวิจัยแห่งชาติตามลำ�ดับ www.national-academies.org

คณะกรรมการเพื่อปรับปรุงข้อแนะนำ�สำ�หรับการดูแล และการใช้สัตว์ทดลอง สมาชิกกรรมการ เจเนท ซี. กาเบอร, (ประธานกรรมการ), กาเบอร์คอนซัลติ้ง อาร์. เวนย์ บาร์บ, มหาวิทยาลัยเวอร์จิเนีย คอมมอนเวลท์ โจเซฟ ที. บีลิทสค, มหาวิทยาลัยเซ็นทรัลฟลอริด้า เลห์ แอน เคลทอน, พิพิธภัณฑ์ทางทะเล, บัลติมอร์ จอห์น ซี. โดโนแวน, บริษัท ไบโอรีซอสซ์ โคเอนราด เอฟ. เอ็ม. เฮนดริกเซ็น, สถาบันวัคซีนเนเธอร์แลนดส์, บิลโธเวน, เนเธอร์แลนดส์ (จนถึงเดือน มีนาคม ค.ศ.2009) เดนนิส เอฟ คอห์น, มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย นิวยอร์ค นิวยอร์ค (เกษียณ) นิล เอส. ลิพแมน, ศูนย์มะเร็งเมมอร์เรียล สโลน-เคทเทอร์ริง และ วิทยาลัยแพทย์เวลล์คอร์เนลล์ พอล เอ. ลอคอ์, โรงเรียนสาธารณสุขจอห์นฮอพกินส์บลูมเบอร์ก จอห์น เมลเชอร, วุฒิสมาชิก สหรัฐฯ (เกษียณ) เฟรด ดับเบิลยู. ควิมบี, มหาวิทยาลัยร็อกกี้เฟลเลอร์ (เกษียณ) แพททริเซีย วี. เทอร์เนอร์, มหาวิทยาลัยเกวลป์, แคนาดา เจฟฟรี เอ. วูด, มหาวิทยาลัยเกวลป์, แคนาดา แฮนโน เวอร์เบล, มหาวิทยาลัยจัสทัส แห่งกีสเซน, เยอรมันนี เจ้าหน้าที่ ลิดา อเนสทิเดอ, ผู้อำ�นวยการโครงการ ฟรานเซส ชาพเพิลส์, ผู้ช่วยอำ�นวยการ แคทลีน เบล,ผู้ประสานงานอำ�นวยการ คาเมรอน เอช. เฟลทเชอร์, บรรณาธิการอาวุโส รูทห์ ครอสกรูฟว์, บรรณาธิการอาวุโส แรเดียห์ โรส, ผู้จัดการโครงการบรรณาธิการ โรนด้า เฮย์คราฟท์, ผู้ช่วยโครงการอาวุโส โจแอนน์ เซอร์โล, ผู้อำ�นวยการ (จนถึงเดือน เมษายน ค.ศ.2010) vii

สถาบันเพื่อสภาการวิจัยสัตว์ทดลอง สมาชิกกรรมการ สตีเฟน ดับเบิลยู. บาร์โทลด์ (ประธาน), ศูนย์อายุรศาสตร์เปรียบเทียบ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย−เดวิส เคทรีน เอ. เบนย์, สมาคมเพื่อการประเมินและการรับรองมาตรฐานการดูแลสัตว์ทดลองสากล, เมืองเฟดเดอริค, รัฐแมรีแลนด์ เมอเทิล เอ. เดวิส, สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, สถาบันสุขภาพแห่งชาติ, เมืองเบเธสด้า, รัฐแมรีแลนด์ เจฟฟรี ไอ. อิเวอริทท์, หน่วยสนับสนุนอายุรศาสตร์เปรียบเทียบและนักวิจัย, การวิจัยและการพัฒนาของ แกล็กโซ สมิทไคลน์, รีเสิร์ทไทรแองเกิลพาร์ค, รัฐนอร์ทแคโรไลน่า (จนถึง มิถุนายน ค.ศ. 2010) เจมส์ จี. ฟอกซ์, ภาควิชาอายุรศาสตร์เปรียบเทียบ, สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเสซ, เคมบริดจ์ เนลสัน แอล. การ์เนทท์, โปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง, เมืองดิคเคอสัน, รัฐแมรีแลนด์ เอสเตลล์ บี. เกาด้า, มหาวิทยาลัยแพทย์จอห์นฮอพกินส์, โรงพยาบาลจอห์นฮอพกินส์, รัฐแมรีแลนด์ ้ ้ (จนถึง มิถุนายน ค.ศ. 2010) โจเซฟ ดับเบิลยู. เคมนิทซ์, สถาบันเพื่อคลินิกและการแปลความหมาย และ ภาควิชาสรีรวิทยา, มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน−แมดิสัน จูดี้ เอ. แมคอาร์เธอร์ คลาคร์, ผู้ตรวจสอบสัตว์ในการปฏิบัติวิทยาศาสตร์, สำ�นักงานที่บ้าน, ลอนดอน, สหราชอาณาจักร มาธา เค. แมคคลินทอกค์, สถาบันเพื่อจิตและชีววิทยา, มหาวิทยาลัยชิคาโก, รัฐอิลินอย ลิทิเซีย วี. เมดิน่า, หน่วยสวัสดิภาพสัตว์และการปฏิบัติตามกฎหมาย, ห้องปฏิบัติการแอบบอทท์, แอบบอทท์พาร์ค, รัฐอิลินอย ทิโม โอลาวี นีวาไลเนน, ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ, มหาวิทยาลัยแห่งฟินแลนด์ตะวันออก, เมืองคูพิโอ, ประเทศฟินแลนด์ เบอร์นาร์ด อ๊. รอลลิน, ภาควิชาสัตวศาสตร์, มหาวิทยาลัยแห่งรัฐโคโลราโด, เมืองฟอร์ท คอลลิน อบิเกล แอล. สมิทห์, โรงเรียนสัตวแพทยศาสตร์, มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย, เมืองฟิลาเดลเฟีย (จนถึง มิถุนายน ค.ศ. 2010) สตีเฟ่น เอ. สมิทห์, ภาควิชาวิทยาศาสตร์ชีวการแพทย์และพยาธิชีววิทยา, สถาบันโพลีเทคนิคและ มหาวิทยาลัยแห่งรัฐเวอร์จิเนีย, เมืองแบลคเบิร์ก เจมส์ อี. วูแมค, ภาควิชาสัตวพยาธิวิทยา, มหาวิทยาลัยเทกซัสเอแอนเอ็ม, คอลเลจสเตชั่น (จนถึง มิถุนายน ค.ศ. 2010) viii

เจ้าหน้าที่ ฟรานเซส ชาพเพิลส์, ผู้ช่วยอำ�นวยการ ลิดา อเนสทิเดอ, ผู้บริหารโครงการอาวุโส แคทลีน เบล, ผู้ประสานงานอำ�นวยการ คาเมรอน เอช. เฟลทเชอร์, บรรณาธิการอาวุโส, ILAR Journal โรนด้า เฮย์คราฟท์, ผู้ช่วยโครงการ โจแอนน์ เซอร์โล, ผู้อำ�นวยการ (จนถึงเดือน เมษายน ค.ศ.2010) ix

หนังสือของสถาบันเพื่อการวิจัยสัตว์ทดลอง Recognition and Alleviation of Pain and Distress in Laboratory Animals (2009) Scientific and Humane issues in the Use of Random Source Dogs and Cats for Research (2009) Recognition and Alleviation of Distress in Laboratory Animals (2008) Toxicity Testing in the 21stt Century: A Vision and a Strategy (2007) Overcoming Challenges to Develop Countermeasures Against Aerosolized Bioterrorism Agents: Appropriate use of Animal Models (2006) Guidelines for the Humane Transportation of Research Animals (2006) Science, Medicine, and Animals: Teacher’s Guide (2005) Animal Care and Mangement at the National Zoo: Final Report (2005) Science, Medicine, and Animals (2004) The Developmen tof Science-based Guidelines for laboratory Animal Care: Proceedings of the November 2003 International Workshop (2004) Animal Care and Mangement at the National Zoo: Interim Report (2004) National Need and Priorities for Veterinarians in Biomedical Research (2004) Guidelines for the Care and Use of Mammals in Neuroscience and Behavioral Research (2003) International Perspectives: The Future of Nonhuman Primate Resources, Proceedings of the Workshop Held April 17-19, 2002 (2003) Occupational Health and Safety in the Care and Use of Nonhuma Primates (2003) Definition of Pain and Distress and Reporting Requirements for Laboratory Animals: Proceedings of the Workshop Held June 22, 2000 (2000) Strategies That Influence Cost Containment in Animal Research Facilities (2000) Microbial Status and Genetic Evaluation of Mice and Rats: Proceedings of the 1999 US/Japan Conference (2000) Microbial Status and Phenotypic Evaluation of Rats and Mice: Proceedings of the 1999 US/Japan Conference (1999) Monoclonal Antibody Production (1999) The Psychological Well-being of nonhuman Primates (1998) Biomedical Models and Resources: Current Needs and Future Opportunities (1998) Approaches to Cost Recovery for Animal Research: Implications for Science, Animals, Research Compititiveness and Regulatory Compliance (1998) Chimpanzees in Research: Strategies for their Ethical Care, Mangement, and Use (1997) x

Occupational Health and Safety in the Care and Use of Research Animlas (1997) Guide for the Care and Use of Laboratory Animals (1996) Rodents (1996) Nutrient Requirements of Laboratory Animals, Fourth Revised Edition (1995) Laboratory Animal Management: Dogs (1994) Recognition and Alleviation of Pain and Distress in Laboratory Animals (1992) Education and Training in the Care and Use of Laboratory Animals: A Guide for Developing Institutional Program (1991) Companion Guide to Infectious Diseases of Mice and Rats (1991) Infectious Diseases of Mice and Rats (1991) Immunodeficient Rodents: A Guide to Their Immunobiology, Husbandry, and Use (1989) Use of Laboratory Animals in Biomedical and Behavioral Research (1988) Animals for Research: A Directory of Sources, Tenth Edition and Supplement (1979) Amphibians: Guidelines for the Breeding, Care and Mangement of Laboratory Animals (1974) หนังสือรายงานเหล่านี้อาจสั่งซื้อได้จากโรงพิมพ์บัณฑิยสถานแห่งชาติ (800) 624−6424 หรือ (202) 334−3310 www.nap.edu xi

ผู้ทบทวนหนังสือ Reviewers ข้ อแนะนำ�สำ�หรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลองฉบับปรับปรุงครั้งที่ ๘ นี้ได้รับการทบทวนด้วยฉบับ ร่างโดยบุคลากรทีได้รบการคัดเลือกเพือความหลากหลายในความคิดและความชำ�นาญโดยสอดคล้อง ี ำ ่ ั ่ ั ั ิ ่ กับวีธด�เนินการทีได้รบการอนุมตจากคณะกรรมการการทบทวนรายงานของสภาวิจยแห่งชาติ จุดมุง ั หมายของการทบทวนอย่างอิสระนี้เพื่อให้ข้อคิดเห็นและคำ�วิจารณ์อย่างตรงไปตรงมาที่จะช่วยเหลือคณะ ่ กรรมการในการทำ�ให้ตีพิมพ์รายงานให้สมบูรณ์เท่าที่จะทำ�ได้และเพื่อให้แน่ใจว่ารายงานบรรลุมาตรฐานของ สถาบันในวัตถุประสงค์ หลักฐานและเป็นการตอบสนองต่อค่าใช้จ่ายในการศึกษา คำ�วิจารณ์จากผู้ทบทวน และฉบับร่างถูกเก็บเป็นความลับเพือปกป้องความมันคงของกระบวนการพิจารณา คณะกรรมการขอขอบคุณ ่ ่ บุคลากรผู้ทบทวนรายงานฉบับร่างดังมีรายนามต่อไปนี้ ไมเคิล บี. บาลลิงเจอร์, แอมเจน ฟิลลิฟฟ์ เจ. อาร์. บาเน็กซ์, พรีแลบส์ สตีเฟ่น ดับเบิลยู. บารธอลด์, มหาวิทยาลัยแคลิฟอเนีย−เดวิส ลินดา ซี. คอร์ค, มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด แจน ฮัว, มหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกน, เดนมาร์ค ไมเคิล ดี. คาสเตลโล, วาโนฟี−อเวนติส อาร์เธอร์ แอล. แลจ, วิทยาลัยแพทย์ฮาเวิร์ด คริสเตียนลอเลนส์, โรงพยาบาลเด็กบอสตัน แรนดอล เจ. เนลสัน, มหาวิทยาลัยเทนเนสซี, วิทยาลัยแพทย์เมมฟิส สตีเฟ่น เอ็ม. นีมิ, โรงพยาบาลทั่วไปแห่งแมสซาชูเสทท์ มีลินด้า เอ. โนแวค, มหาวิทยาลัยแมสซาชูเสทท์−แอมเฮิทส์ xiii

เกมม่า เพอเรทต้า, สภาวิจัยแห่งชาติ, ประเทศอิตาลี มาร์คี อี. พิททส์, ที่ปรึกษาคณะกรรมการการดูแลและใช้สัตว์ของสถาบัน (ไอคุค) จอร์จ อี. แซนเดอร์, มหาวิทยาลัยวอชิงตัน แอลเลน ดับเบิลยู. ซิงเกอร์, สถาบันแบทเทลล์เมมมอเรียล วิลเลียม เจ. ไวท์, ชาร์ลริเวอร์แลบบอราโทรี่ ถึงแม้ว่าผู้ทบทวนดังได้กล่าวนามแล้วได้ให้คำ�วิจารณ์และข้อแนะนำ�อย่างสร้างสรรค์หลายข้อ ท่านเหล่านีไม่ได้ถกขอให้ลงนามอนุมตบทสรุปหรือคำ�แนะนำ� และไม่ได้เห็นรายงานฉบับสุดท้ายก่อนเผยแพร่ ้ ู ั ิ การทบทวนรายงานฉบับนี้ได้รับการคุมงานโดยจอห์น ดาวลิ่ง จากมหาวิทยาลัยฮาเวิร์ด และ จอห์น แวนเดน เบิร์กจากมหาวิทยาลัยแห่งรัฐนอร์ทแคโรไลน่า ท่านเหล่านี้ถูกแต่งตั้งโดยสภาวิจัยแห่งชาติ ท่านเป็นผู้ รับผิดชอบเพื่อให้แน่ใจว่าการตรวจสอบรายงานนี้ทำ�ขึ้นอย่างมีอิสระโดยสอดคล้องกับวีธีดำ�เนินการของ สถาบัน และคำ�วิจารณ์ของผู้ทบทวนทั้งหมดได้รับการพิจารณาอย่างรอบคอบ ความรับผิดชอบต่อเนื้อหา สุดท้ายของรายงานฉบับนี้เป็นความรับผิดชอบทั้งหมดของคณะกรรมการและสถาบันผู้ได้รับการมอบหมาย แต่งตั้งให้ทำ�ตามหน้าที่ xiv

อารัมภบท Preface วั ตถุประสงค์ของ ข้อแนะนำ�สำ�หรับการดูแลและการใช้สตว์ทดลอง (ข้อแนะนำ�) ดังได้กล่าวแล้วในหน้าที่ ั ของคณะกรรมการเพื่อการปรับปรุงข้อแนะนำ� เพื่อช่วยเหลือสถาบันต่างๆในการดูแลและการใช้สัตว์ ในวิถีทางที่ได้รับการพิจารณาแล้วว่าเป็นวิธีที่เหมาะสมทางวิทยาศาสตร์ ทางเทคนิคและมีเมตตา ข้อ แนะนำ�มีเจตนาช่วยเหลือนักวิจยให้บรรลุภาระหน้าที่ เพือวางแผนและปฏิบตการทดลองอย่างสอดคล้องตาม ั ่ ั ิ หลักเกณฑ์ทางวิทยาศาสตร์ มนุษยธรรมและจรรยาบรรณอย่างสูงสุด ข้อแนะนำ�มีเจตนาช่วยเหลือนักวิจัยใน การบรรลุพันธกิจเพื่อวางแผนและปฏิบัติการทดลองที่ใช้สัตว์สอดคล้องตามหลักเกณฑ์ทางวิทยาศาสตร์ มนุษยธรรมและจรรยาบรรณอย่างสูงสุด คำ�แนะนำ�ต่างๆยึดตามพื้นฐานข้อมูลที่ได้มีการตีพิมพ์แล้ว หลัก วิทยาศาสตร์ ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ และประสบการณ์ร่วมกับวิธีและการปฏิบัติที่พิสูจน์แล้วว่า ได้ทั้งการ วิจัยคุณภาพสูงและการเลี้ยงดูและการใช้สัตว์อย่างมีมนุษยธรรม ข้อแนะนำ�เป็นที่ยอมรับโดยนานาประเทศให้เป็นเอกสารอ้างอิงเล่มแรกสำ�หรับการดูแลและการ ใช้สัตว์ และนโยบายการบริการสาธารณสุขในอเมริกาบังคับให้ปฏิบัติตาม ได้จัดพิมพ์ขึ้นเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1963 โดยใช้ชื่อว่า ข้อแนะนำ�สำ�หรับสถานที่อำ�นวยความสะดวกและการดูแลสัตว์ทดลอง และได้รับ การปรับปรุงในปี ค.ศ. 1965, 1968, 1972, 1978, 1985 และ 1996 นับตั้งแต่ฉบับแรกได้ตีพิมพ์เผยแพร่แล้ว มากกว่า 550,000 ฉบับ ในปี ค.ศ. 2006 คณะกรรมการเฉพาะกิจทีได้รบการแต่งตังโดยสถาบันเพือการวิจยสัตว์ทดลองเสนอ ่ ั ้ ่ ั คำ�แนะนำ�ว่าข้อแนะนำ�ควรได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัย คณะกรรมการเพื่อการปรับปรุงข้อแนะนำ�ได้รับการ xv

แต่งตั้งโดยสภาวิจัยแห่งชาติในปี ค.ศ. 2008 คณะกรรมการฯมีสมาชิก 13 ท่านประกอบด้วย นักวิจัย วิทยาศาสตร์ สัตวแพทย์ และ ผูไม่ใช่นกวิทยาศาสตร์เป็นตัวแทนจรรยาบรรณชีวการแพทย์และจากสาธารณะ ้ ั ผู้มีความสนใจในสวัสดิภาพสัตว์ คณะกรรมการฯ ชักชวนให้ประชาคมวิทยาศาสตร์และสาธารณชนส่งคำ � วิจารณ์ที่มีต่อข้อแนะนำ�ฉบับปรับปรุงเป็นลายลักษณ์อักษรและด้วยวาจา มีการพิจารณาทั้งคำ�วิจารณ์ที่มี ณ การประชุมอย่างเปิดเผย (วันที่ 26 กันยายน ค.ศ. 2008 ที่กรุงวอชิงตัน ดีซี; วันที่ 16 ตุลาคม ค.ศ. 2008 ที่ เมืองเออไวน์ รัฐแคลิฟอร์เนีย; และ วันที่ 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 2008 ที่เมืองชิคาโก) ตลอดจนคำ�วิจารณ์ที่ เขียนส่งให้และตามการร้องขอจากคณะกรรมการฯ ทั้งนี้ คณะกรรมการฯได้ศึกษาเอกสารที่ถูกส่งถึงสถาบัน สุขภาพแห่งชาติ (NIH) เพื่อตอบสนองตามข้อเรียกร้องข้อมูลในปี ค.ศ. 2005 (NOT-OD-06-011) คำ�วิจารณ์ ทั้งหมดมีส่วนร่วมต่อข้อแนะนำ�ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 8 นี้อย่างมากมาย ในการบรรลุพนธกิจของคณะกรรมการฯ คณะกรรมการฯดำ�เนินการให้เกิดความสมดุลย์ระหว่างจรรยา ั บรรณ และ วิธปฏิบตตามหลักวิทยาศาสตร์ทได้เป็นพืนฐานของข้อแนะนำ�เสมอมา และทำ�พันธกิจให้สมบูรณ์ ี ั ิ ี่ ้ โดยให้แหล่งความรูททนสมัย ช่วยให้ประชาคมการวิจยสามารถดำ�เนินการทดลองอย่างรับผิดชอบได้งาย และ ้ ี่ ั ั ่ ใช้การกำ�กับดูแลภายในด้วยตนเองกับการใช้สัตว์ทดลอง ข้อแนะนำ�คาดคะเนตามความเข้าใจว่า การใช้การ ตัดสินใจโดยผู้เชี่ยวชาญให้ผลดีทั้งยกระดับความคิดส่วนกลางเกี่ยวกับมาตรฐานสมรรถภาพ และ ลดความ จำ�เป็นเพื่อไม่ต้องมีกฎหมายเข้มงวดมากขึ้น วิทยาศาสตร์สัตว์ทดลองเป็นศาสตร์ที่เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว และคณะกรรมการฯ ระบุหลาย ประเด็นที่มีข้อมูลทางวิทยาศาสตร์อยู่ในปัจจุบันอย่างพอเพียง จำ�เป็นต้องมีข้อมูลเพิ่มเติมตามวัตถุประสงค์ และการประเมินผลเพือให้พนฐานทางวิทยาศาสตร์ส�หรับคำ�แนะนำ�ต่างๆในข้อแนะนำ�ฉบับใหม่ๆในอนาคต ่ ื้ ำ ถึงแม้ว่าการทำ�ตามแนวคิดเหล่านี้อยู่นอกพันธกิจของคณะกรรมการฯ มีสองหัวข้อต่อไปนี้ที่สมควรศึกษาใน อนาคต (1) ความจำ�เป็นด้านพื้นที่และการอยู่อาศัยสำ�หรับสัตว์ทดลอง และ (2) ความจำ�เป็นและวิธีที่ดีที่สุด เพื่อให้การเพิ่มพูน การออกกำ�ลังกาย และ การสัมผัสกับมนุษย์ ความจำ�เป็นเพื่อการปรับปรุง ข้อแนะนำ�อย่างต่อเนื่องคือวัตถุประสงค์ “เพื่อให้ข้อมูลที่จะส่งเสริม ความเป็นอยู่ที่ดีของสัตว์ คุณภาพงานวิจัย และความเจริญก้าวหน้าของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่มีความ เกี่ยวข้องต่อทั้งมนุษย์และสัตว์” (บทที่หนึ่ง) ความไม่สม่ำ�เสมอและการเพิ่มช่วงเวลาระหว่างการปรับปรุงข้อ แนะนำ� มีช่องว่างถึง14ปีที่ผ่านมาระหว่างฉบับปรับปรุงครั้งที่ 7 และ ฉบับที่ 8 นี้ หมายความว่าการค้นพบที่ สำ�คัญจากการวิจยใหม่ๆอาจต้องรอนานกว่าหนึงทศวรรษก่อนมีผลถึงการปฏิบตอย่างทีแนะนำ� การแถลงถึง ั ่ ั ิ ่ ข้อกังวลดังกล่างอยู่เหนือพันธกิจของคณะกรรมการฯ เราเสนอว่า อย่างไรก็ดี การปรับปรุงข้อมูลที่มีในข้อ แนะนำ�อย่างสม่ำ�เสมอ และบ่อยครั้งขึ้นกว่าเดิมจะส่งเสริมสวัสดิภาพสัตว์ทดลอง และ สนับสนุนข้อมูลทาง วิทยาศาสตร์ทมคณภาพสูง กระบวนการปรุบปรุงข้อมูลทีมในข้อแนะนำ�อย่างเป็นทางการ รวมถึงการปรับปรุง ี่ ี ุ ่ ี มาตรฐานการปฏิบัติสามารถบรรลุความจำ�เป็นดังนี้ได้ ในการดำ�เนินการปรับปรุงนี้ คณะกรรมการฯขอขอบคุณการช่วยเหลือของ วิลเลียม ไอ. กาย และ เบนเนทท์ เจ. โคเฮน ในการพัฒนาข้อแนะนำ�ฉบับแรกเริ่ม ในปี ค.ศ. 1959 กลุ่มผู้อภิปรายเรื่องการดูแลสัตว์ (Animal care panel, ACP) ท่านประธานโคเฮนได้แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อพิจารณาจรรยาบรรณในการ ดูแลสัตว์ทดลองเพื่อประเมินการดูแลและใช้สัตว์โดยมี ดร.กายเป็นประธานคณะกรรมการ ซึ่งในเวลาต่อมา ยอมรับว่าคณะกรรมการฯ ไม่สามารถประเมินโปรแกรมการดูแลสัตว์ตามวัตถุประสงค์ได้โดยขาดกฎเกณฑ์ xvi

พื้นฐานเพื่อการประเมินอย่างเหมาะสม ดังนั้นจึงจำ�เป็นต้องมีมาตรฐาน คณะกรรมบริหารของ ACP มีความ เห็นพ้องกันและได้แต่งตังคณะกรรมการมาตรฐานทางวิชาชีพ ในเวลาต่อมา NIH ได้ให้ทนและตกลงทำ�สัญญา ้ ุ กับ ACP เพื่อ “พิจารณาและตั้งมาตรฐานทางวิชาชีพเพื่อการดูแลและสถานที่เพื่อการอำ�นวยความสะดวก สำ�หรับสัตว์ทดลอง” ดร.โคเฮน เป็นประธานคณะกรรมการ เพือมาตรฐานสถานทีเพือการอำ�นวยความสะดวก ่ ่ ่ สำ�หรับสัตว์ทดลองของ ACP ซึ่งได้จัดทำ� ข้อแนะนำ�เพื่อการดูแลและสถานที่เพื่อการอำ�นวยความสะดวก สำ�หรับสัตว์ทดลอง ฉบับแรกเริ่ม การพิมพ์ข้อแนะนำ� ฉบับนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากสถาบันสุขภาพแห่งชาติ (NIH); สำ�นักงานความ มั่นคงการวิจัย กระทรวงสุขภาพและบริการบุคคล; กระทรวงเกษตรของสหรัฐฯ (USDA); สมาคมเพื่อการ ประเมินและการรับรองมาตรฐานการดูแลสัตว์ทดลองสากล; สมาคมวิทยาศาสตร์สัตว์ทดลองแห่งอเมริกา; ทุนแอบบอท (Abbot Fund); บริษทไฟเซอร์; วิทยาลัยอายุรศาสตร์สตว์ทดลองแห่งอเมริกา; สมาคมสัตวแพทย์ ั ั ด้านสัตว์ทดลองแห่งอเมริกา; และสมาคมสัตวแพทย์จ�เพาะสัตว์พวกลิง ำ คณะกรรมการเพื่อปรับปรุงข้อแนะนำ�การดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง ขอแสดงความขอบคุณศูนย์ ข่าวสารเพื่อสวัสดิภาพสัตว์; ห้องสมุดการเกษตรแห่งชาติ กระทรวงเกษตรแห่งสหรัฐอเมริกา (USDA) สำ�หรับ การช่วยเหลือในการรวบรวมบรรณานุกรมและเอกสารอ้างอิงต่างๆ หากปราศจากความช่วยเหลือจากเจ้า หน้าที่ของศูนย์งานดังกล่าวงานที่ได้รับมอบหมายนี้จะประสบอุปสรรคอย่างมาก นอกจากนี้ยังขอขอบคุณ คณะผูทบทวนข้อแนะนำ� ฉบับนี้ รอนด้า เฮย์คราฟผูให้ความช่วยเหลือด้านการบริหารและการสนันสนุน และ ้ ้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ขอชมเชย ลิดา อเนสทิโด หัวหน้าโครงการผู้มีความวิริยะอุสสาหะและความใส่ใจในราย ละเอียดทางวิทยาศาสตร์และการบริหารขั้นตอนการปฏิบัติตั้งแต่ต้นจนจบ หากผู้อ่านตรวจพบข้อผิดพลาดเช่นมีส่วนที่ขาดหายไปหรือควรเพิ่มเติม ขอเชิญชวนให้ส่งข้อแก้ไข และข้อเสนอแนะต่างๆไปยังสถาบันเพื่อการวิจัยสัตว์ทดลอง สภาวิจัยแห่งชาติ เลขที่ 500 ถนนห้า, ตะวันตก เฉียงเหนือ วอชิงตัน ดี.ซี. 20001 เจเนท ซี. กาเบอร์ ประธาน คณะกรรมการปรับปรุงข้อแนะนำ� เพื่อการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง xvii

คำ�นำ�ของผู้แปล ผู้แปลยินดีแปลข้อแนะนำ�สำ�หรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง (ข้อแนะนำ�) ฉบับปรับปรุงใหม่ ครั้งที่ 8 นี้อีกครั้งตามที่สภาวิจัยแห่งชาติ (สหรัฐฯ) มีความต้องการให้ข้อแนะนำ� ฉบับใหม่นี้แปลโดยผู้แปล คนเดิม ควรเป็นผู้คุ้นเคยกับเนื้อหาและเข้าใจการตีความหมายอย่างเหมาะสมที่อาจสืบเนื่องกับข้อแนะนำ� ฉบับเดิมที่พิมพ์ในปี ค.ศ. 1996 สภาวิจัยแห่งชาติสหรัฐฯ ระบุให้การแปลตรงตามความหมายอย่างครบถ้วน โดยไม่เพิ่มเติมหรือไม่ให้ตัดทอนส่วนใดๆออก และต้องสามารถแปลกลับไปเป็นภาษาอังกฤษได้ ผู้แปลและ คณะผู้ทบทวนตั้งใจให้เนื้อหาครบถ้วนบริบูรณ์ตามต้นฉบับภาษาอังกฤษมากที่สุด และให้เนื้อหาแต่ละหน้า ของฉบับภาษาไทยนั้นตรงกันกับแต่ละหน้าในต้นฉบับภาษาอังกฤษโดยมีเลขที่หน้าเหมือนกัน ทั้งนี้เพื่อให้ ผู้อ่านสามารถค้นคว้าและอ้างอิงกลับถึงต้นฉบับภาษาอังกฤษได้สะดวก ผู้แปลและคณะผู้ทบทวนตระหนักถึงความจำ�เป็นและการนำ�ข้อแนะนำ�ฉบับนี้ไปใช้ประโยชน์เพื่อ พัฒนาการดูแลและการใช้สัตว์ทดลองเพื่อการวิจัย การทดสอบ และการสอนในประเทศไทย เพื่อมุ่งสู่การ ยกระดับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลองในประเทศไทยให้ได้มาตรฐานสากลตามแผนกลยุทธ์แห่งชาติว่าด้วย การพัฒนางานสัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ การพัฒนาการดูแลและการใช้สัตว์ทดลองในประเทศไทยให้ได้ มาตรฐานสากลจำ�เป็นต้องใช้พลังขับเคลือนและความร่วมมือกันอย่างมากจากหลายภาคส่วน และยังต้องการ ่ พืนฐานความรูความเข้าใจด้านวิทยาศาสตร์สตวทดลองอย่างเหมาะสมของผูบริหาร นักวิชาการและบุคลากร ้ ้ ั ้ ผู้สนับสนุนทั้งหลาย ผู้แปลมีความเห็นว่า ข้อแนะนำ� ฉบับนี้สามารถปรับใช้ได้กับระบบการเลี้ยงสัตว์ที่ปฏิบัติได้ใน ประเทศไทยโดยบุคลากรคนไทยผูมความประณีตละเอียดถีถวน มีเมตตาและใส่ใจในการดูแลเลียงสัตว์ทดลอง ้ ี ่้ ้ เป็นอย่างดี แต่มีความจำ�เป็นที่บุคลากรเหล่านี้ทั้งระบบต้องได้รับการส่งเสริมการศึกษา อบรมอย่างต่อเนื่อง ให้มีความรู้และประสบการณ์ตรง โดยมีการให้แนวทางนโยบาย เป้าหมายและกรอบระยะเวลาเพื่อให้บรรลุ เป้าประสงค์อย่างชัดเจนและได้รบการสนับสนุนด้านงบประมาณจากผูบริหารขององค์กรอย่างต่อเนืองมีระบบ ั ้ ่ บุคลากรควรได้รบแรงจูงใจในการปฏิบตงานและได้รบการยกย่องยอมรับให้ใฝ่หาความรูเพิมเติมอย่างต่อเนือง ั ั ิ ั ้ ่ ่ ผู้แปลตั้งความหวังว่า ข้อแนะนำ� ฉบับภาษาไทยนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ในสาขาวิทยาศาสตร์สัตว์ ทดลอง อย่างไรก็ตามควรทำ�ความเข้าใจเบืองต้นว่าวัตถุประสงค์หลักของการจัดทำ� ข้อแนะนำ� ต้นฉบับภาษา ้ อังกฤษนั้นมุ่งหวังให้ค�นึงถึง “มาตรฐานสมรรถภาพ (Performance Standard)” โดยให้เพียงเป้าหมายที่ควร ำ บรรลุ หรือบางครังให้ตวเลข “มาตรฐานทางวิศวกรรม (Engineering Standard)” หรือให้เพียงหลักการแนวทาง ้ ั การปฏิบตอย่างคร่าวๆ แต่อาจมิได้ระบุให้ละเอียดชัดเจนว่าการทำ�ทุกขันตอนและการจัดการทังหมดอย่างไร ั ิ ้ ้ การนำ�ข้อแนะนำ�ไปใช้จึงต้องการการอ่านและตีความโดยสัตวแพทย์ผู้รับผิดชอบของสถาบันและในบางกรณี อาจต้องใช้ตัดสินใจของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญเพื่อให้การปฏิบัติในแต่ละสถานะการณ์มีความเหมาะสมกับพันธกิจ xix

ของสถาบันนั้นๆ ผู้บริหารสถาบัน สัตวแพทย์ผู้รับผิดชอบ คณะกรรมการกำ�กับดูแลการดูแลและการใช้สัตว์ ของสถาบัน นักวิจัยและผู้ปฏิบัติงานทุกคนควรมีหน้าที่รับผิดชอบและมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในประเด็น ใดๆของโปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง ในบางครั้ง ถ้าไม่สามารถหาข้อสรุปได้หรือขาดความ เชียวชาญ ควรปรึกษาหาผูเชียวชาญอย่างเหมาะสมเพือช่วยประกอบการตัดสินใจ บุคลากรควรทราบว่า ระบบ ่ ้ ่ ่ การประเมินของสมาคมเพือการประเมินและการรับรองมาตรฐานการดูแลสัตว์ทดลองสากล (AAALAC Inter- ่ national) นั้น ใช้ข้อแนะนำ� ฉบับนี้เป็นหนึ่งในบรรทัดฐานหลัก จึงควรอ่านทำ�ความเข้าใจอ่านข้อแนะนำ�นี้และ นำ�ไปประยุกต์ปฏิบัติให้เหมาะกับสถานการณ์ ควรเข้าใจว่า นอกเหนือจากข้อแนะนำ� นี้ AAALAC Interna- tional ยังมีรายการเอกสารอ้างอิงเพิ่มเติม (Reference Resources, http://www.aaalac.org/accreditation/ resources.cfm) เป็นแหล่งความรูเพิมเติมและให้รายละเอียดเฉพาะแต่ละเรืองอีกมากมาย จึงควรศึกษาเอกสาร ้ ่ ่ อ้างอิงเพิ่มเติมต่างๆ เหล่านี้ด้วย ขอขอบคุณสัตวแพทย์หญิง วันทนีย์ รัตนศักดิ์ (เลขาธิการ สมาคมวิทยาศาสตร์สัตว์ทดลองแห่ง ประเทศไทย) และรองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ปานเทพ รัตนากร (นายกสมาคมวิทยาศาสตร์สตว์ทดลอง ั แห่งประเทศไทย) ที่กรุณาทบทวน ข้อแนะนำ� ฉบับแปลภาษาไทยนี้ทั้งหมดอย่างละเอียด และขอขอบคุณ สัตวแพทย์หญิงนวขนิษฐ์ สัจจานนท์ (นายสัตวแพทย์ชำ�นาญการ ศูนย์สัตว์ทดลอง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข) และสัตวแพทย์หญิงระวิวรรณ อิ่มเอิบสิน (ผูชวยหัวหน้าแผนกสัตวแพทย์ สถาบันวิจยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหาร ฝ่ายสหรัฐฯ) ทีได้ชวยทบทวนต้นฉบับ ้่ ั ่ ่ สุดท้ายก่อนส่งพิมพ์มา ณ โอกาสนี้ ขอขอบคุณหน่วยงานผูมสวนให้ทนสนับสนุนการพิมพ์ ได้แก่ AAALAC International, แผนกสัตวแพทย์ ้ ี่ ุ สถาบันวิจยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหาร (ฝ่ายสหรัฐฯ) ศูนย์สตว์ทดลอง สถาบันวิจยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ั ั ั กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข) และสมาคมวิทยาศาสตร์สัตว์ทดลองแห่งประเทศไทย ขอขอบคุณสมาคมวิทยาศาสตร์สัตว์ทดลองแห่งประเทศไทยที่ด�เนินการขอลิขสิทธ์ในการแปล การจัดพิมพ์ ำ อย่างสมบูรณ์และแจกจ่าย ข้อแนะนำ� ฉบับแปลเป็นภาษาไทยนี้ให้แก่ผู้สนใจทั่วประเทศไทยโดยไม่คิดมูลค่า สพ.ญ. มณทิพย์ เจตยะคามิน (montipg@aaalac.org) ผู้แปล สพ.ญ. ระวิวรรณ อิ่มเอิบสิน (rawiwani@afrims.org) ผู้ทบทวน สพ.ญ. นวขนิษฐ์ สัจจานนท์ (navakanit.s@dmsc.mail.go.th ผู้ทบทวน สพ.ญ. วันทนีย์ รัตนศักดิ์ (wantanee.rat@mahidol.ac.th) ผู้ทบทวน รศ.น.สพ. ปานเทพ รัตนากร (parntep.rat@mahidol.ac.th) ผู้ทบทวน xx

บทสรุป Overview ข้ อแนะนำ� ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 8 นี้ ถูกจัดเป็นห้าบท และมีสี่ภาคผนวก บทที่ 1 แสดงเป้าหมายและผู้อ่านที่ข้อแนะนำ� ฉบับนี้ตั้งใจ รวมทั้งแนวความคิดหลักและคำ�นิยาม ศัพท์ที่จำ�เป็นสำ�หรับการนำ�เสนอและการใช้ข้อแนะนำ� มีการรวบรวมเนื้อหาของบทนำ�ที่เคยมีอยู่ใน ข้อแนะนำ�ฉบับที่แล้ว บทนี้เน้นความสำ�คัญที่มีต่อพันธกิจต่อหลักสามอาร์ ได้แก่ การทดแทน การลดจำ�นวน และการลดความเจ็บปวด และให้การอภิปรายขยายความเรื่องจรรยาบรรณการใช้สัตว์ และภาระหน้าที่ของ นักวิจัย/สถาบัน บทที่ 2 เน้นเรื่องภาพรวมโปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ (โปรแกรม) รวมทั้งหัวข้อทั้งหลายที่เคย กล่าวแล้วในบทที่หนึ่ง ข้อแนะนำ� ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 7 บทนี้ ระบุการวิวัฒน์แนวความคิดหลักเรื่องโปรแกรม และให้กรอบการปฏิบตส�หรับการผนึกกำ�ลังภายในสถาบัน ยึดถือในนโยบายและความรับผิดชอบของสถาบัน ั ิำ การพิจารณาด้านกฎข้อบังคับ การจัดการโปรแกรมและบุคลากร (รวมทังการให้การฝึกอบรม และอาชีวอนามัย ้ และความปลอดภัย) และการควบคุมดูแลโปรแกรม การอภิปรายถัดมาได้แก่ หน้าที่ของคณะกรรมการการ ดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง (IACUC, ไอคุค) การทบทวนโครงร่างงานวิจัย (โปรโตคอล) และโปรแกรม การ กำ�กับดูแลหลังการอนุมัติ (หัวข้อใหม่) และการพิจารณาต่างๆ เช่น จุดสิ้นสุดเพื่อมนุษยธรรม และการทำ� ศัลยกรรมแบบรอดชีวิตหลายครั้ง คณะกรรมการฯรับรอง “บรรทัดฐานสำ�หรับการดูแลทางการสัตวแพทย์” ของวิทยาลัยอายุรศาสตร์สัตว์ทดลองแห่งอเมริกา xxi

xxii บทที่ 3 เน้นเรื่องตัวสัตว์และที่ไม่เหมือนฉบับปรับปรุงครั้งที่แล้วคือการระบุหัวข้อเรื่องสัตว์บกและ สัตว์น้ำ�แยกจากกัน สะท้อนให้เห็นบทบาทของสัตว์น้ำ�ที่มีเพิ่มขึ้นต่อการวิจัยทางชีวการแพทย์ มีการให้คำ� แนะนำ�สำ�หรับที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อม อภิปรายความสำ�คัญของการให้อยู่ร่วมกันเป็นสังคม และมีบท เสริมเรื่องการเพิ่มพูนสภาพแวดล้อม การเป็นอยู่ดีของสัตว์ และการมีนัยสำ�คัญทางวิทยาศาสตร์ ข้อแนะนำ�เรื่องการใช้เนื้อที่มีกล่าวไว้คร่าวๆตามความเชี่ยวชาญและข้อคิดเห็นของคณะกรรมการฯ และตามวิธีที่อยู่อาศัยในปัจจุบัน ขนาดกรงต่างๆในอดีตได้ถูกตีความให้หมายถึงความต้องการเนื้อที่ขั้นต่ำ � โดยผูใช้ขอแนะนำ�ทังหลาย และระบุให้เป็น (“เนือทีขนต่�ทีได้แนะนำ�) ในฉบับนี้ การใช้ค�ว่า “ขันต่�” ไม่จ�กัด ้ ้ ้ ้ ่ ั้ ำ ่ ำ ้ ำ ำ ผูใช้ขอแนะนำ�เพราะว่า ถึงแม้วาความต้องการเนือทีระบุเป็นตัวเลขต่างๆ (เช่น มาตรฐานทางวิศวกรรม) ตัวเลข ้ ้ ่ ้ ่ ทังหลายนันถูกใช้ในกรอบปฏิบตมาตรฐานสมรรถภาพ คณะกรรมการฯแนะนำ�เนือทีขนต่�สำ�หรับสัตว์ฟนแทะ ้ ้ ั ิ ้ ่ ั้ ำ ั เพศเมียกับลูกทังครอก และเพิมความสูงกรงสำ�หรับกระต่ายให้เป็น 16 นิว นอกจากนีจากทีมค�วิจารณ์ตางๆ ้ ่ ้ ้ ่ ี ำ ่ เสนอมายังคณะกรรมการฯ โดยขอให้มีข้อมูลมากขึ้นเรื่องเป้าหมายต่างๆทางสมรรถภาพและวิธีบรรลุเป้า หมายเหล่านั้น จึงมีคำ�แนะนำ�เรื่องการแพร่พันธุ์สัตว์ฟันแทะร่วมกับการให้เนื้อหาการแนะนำ�อย่างมากมาย ด้วยความสำ�คัญของสัตว์จ�พวกลิง (NHP) คณะกรรมการฯยึดถือให้การให้อยูรวมกันเป็นสังคมเป็นการ ำ ่่ ปฏิบตพนฐานปกติ และ ได้ให้ค�แนะนำ�เฉพาะสำ�หรับลิงบางชนิด มีการเพิมลิงอีกหนึงกลุม และแยกชิมแปนซี ั ิ ื้ ำ ่ ่ ่ ออกเป็นอีกหนึ่งประเภทใหม่ การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ได้รับแรงจูงใจจากการตระหนักของคณะกรรมการฯ (ดวยการรบรองทมในค�วจารณตางๆจากผเชยวชาญดานสตวจ�พวกลง) วาสตวเหลานตองมเนอทแนวราบและ ้ ั ี่ ี ำ ิ ์ ่ ู้ ี่ ้ ั ์ำ ิ ่ ั ์ ่ ี้ ้ ี ื้ ี่ แนวตั้งมากกว่า อย่างน้อยสำ�หรับลิงบางกลุ่มเพื่อการออกกำ�ลังกายตามกิจวัตรธรรมชาติของสัตว์เหล่านี้ บทที่ 4 อภิปรายการให้การดูแลทางการสัตวแพทย์ และ ความรับผิดชอบของสัตวแพทย์ผรบผิดชอบ ู้ ั (Attending Veterinarian) ให้การแนะนำ�หลักการเรื่อง ความมั่นคงทางชีวภาพของสัตว์ (animal biosecurity) และสนับสนุนบทบาทศูนย์กลางในการรับรองสุขภาพสัตว์ทดลอง บทนี้ให้คำ�แนะนำ�ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการ จัดหาสัตว์ การขนส่งสัตว์และเวชศาสตร์ป้องกัน และขยายความส่วนต่างๆ เรื่องการดูแลและการจัดการทาง คลินก ศัลยกรรม (มีหนึงตอนใหม่เรืองการตรวจวัดขณะทำ�ปฏิบตศลยกรรม) ความเจ็บปวดและการทุกข์ทรมาน ิ ่ ่ ั ิ ั และการทำ�การุณยฆาต (euthanasia) บทที่ 5 อภิปรายหัวข้อกายภาพของสถานที่ต่างๆ และให้รายละเอียดที่ทันสมัยและใหม่เรื่องการ ควบคุมความสั่นสะเทือน ความปลอดภัยทางกายภาพและการควบคุมการเข้าออก การกักเก็บสิ่งอันตราย และสถานที่พิเศษต่างๆสำ�หรับการฉายรังสีร่างกายบางส่วนและทั่วทั้งตัว การให้อยู่อาศัยในสถานที่สกัดกั้น เชือโรค (barrier) การศึกษาทางพฤติกรรมต่างๆ และการให้อยูอาศัยสำ�หรับสัตว์น� บทนีให้การอธิบายในราย ้ ่ ้ำ ้ ละเอียดเรืองสถานทีเลียงสัตว์ศนย์กลางแห่งเดียวและแบบกระจายหลายๆแห่ง และแนะนำ�แนวความคิดเรือง ่ ่ ้ ู ่ ระบบปรับอากาศทีมการให้ความร้อนและการระบายอากาศ (HVAC) ชนิดทีมการผันแปรปริมาตร ร่วมกับการ ่ ี ่ ี ยอมรับการอนุรักษ์พลังงานและการใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ภาคผนวก ก. เป็นรายการเอกสารอ้างอิงที่ทันสมัย ภาคผนวก ข. แสดงหลักเกณฑ์ของรัฐบาลเกี่ยว กับการดูแลและใช้สัตว์มีกระดูกสันหลังในการทดสอบ วิจัยและการฝึกอบรม ภาคผนวก ค. แสดงถ้อยแถลง ภาระหน้าที่ และ ภาคผนวก ง. ให้ชีวประวัติอย่างสั้นๆของสมาชิกในคณะกรรมการฯ

xxiii เพื่อสอดคล้องกับถ้อยแถลงภาระหน้าที่ (เพิ่มเติมจากรายงานฉบับที่ได้ตีพิมพ์แล้ว ข้อแนะนำ� ฉบับปรับปรุงใหม่จะลงในเครือข่ายอินเทอเนทเป็นเอกสารแบบพีดีเอฟ หรือรูปแบบที่คล้ายกัน ที่ผู้ใช้ จะสามารถสืบค้นได้ตลอดทั่วทั้งเล่มในครั้งเดียว) มีข้อแนะนำ�ในแบบพีดีเอฟที่ให้สืบค้นได้อยู่บนเว็บไซด์ สำ�นักพิมพ์บัณฑิตยสถานแห่งชาติ www.nap.edu

สารบัญ Contents 1. แนวความคิดหลัก 1 การนำ�ไปใช้ประโยชน์และเป้าหมายต่างๆ, 2 ผู้อ่านที่ได้มุ่งหมายไว้และการใช้ข้อแนะนำ�, 3 จรรยาบรรณและการใช้สัตว์, 4 หลักสามอาร์, 4 คำ�ศัพท์สำ�คัญที่มีใช้ในข้อแนะนำ�, 5 การดูแลสัตว์อย่างมีมนุษยธรรม, 6 โปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์, 6 มาตรฐานทางวิศวกรรม สมรรถภาพและวิธีปฏิบัติ, 6 นโยบาย หลักเกณฑ์และวิธีด�เนินการต่างๆ, 7 ำ ต้อง, ควร, และ อาจ, 8 เอกสารอ้างอิง, 8 2. โปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ 11 กฎข้อบังคับ นโยบายและหลักเกณฑ์ต่างๆ, 12 การบริหารโปรแกรม, 13 ภาระหน้าที่การจัดการโปรแกรม, 13 ผู้บริหารสถาบัน, 13 สัตวแพทย์ผู้รับผิดชอบ, 14 คณะกรรมการการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง, 14 การทำ�งานร่วมมือกัน, 14 การบริหารบุคลากร, 15 การฝึกอบรมและให้การศึกษา, 15 อาชีวอนามัยและความปลอดภัยของบุคลากร, 17 xxv

การคุ้มกันความปลอดภัยของบุคลากร, 22 การสอบสวนและการรายงานข้อกังวลต่างๆเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์, 23 การควบคุมดูแลโปรแกรม, 24 ภารกิจของไอคุค, 24 องค์ประกอบและหน้าที่ของไอคุค, 25 การทบทวนโปรโตคอล, 25 การพิจารณาเป็นพิเศษในการทบทวนโดยไอคุค, 27 การกำ�กับดูแลตามหลังการอนุมัติ, 33 การวางแผนภัยพิบัติและการเตรียมความพร้อมรับเหตุการณ์ฉุกเฉิน, 35 เอกสารอ้างอิง, 35 3. สภาพแวดล้อม ที่อยู่และการจัดการสัตว์ 41 สัตว์บก, 42 สภาพแวดล้อมสำ�หรับสัตว์บก, 42 สภาพแวดล้อมจุลภาคและสภาพแวดล้อมมหภาค, 42 อุณหภูมิและความชื้น, 43 การระบายและคุณภาพของอากาศ, 45 แสงสว่าง, 47 เสียง และ การสั่นสะเทือน, 49 ที่อยู่อาศัยสำ�หรับสัตว์บก, 50 สภาพแวดล้อมจุลภาค (สิ่งล้อมรอบอันดับแรก), 50 การเพิ่มพูนสภาพแวดล้อม, 52 ที่พักหรือที่อยู่อาศัยกลางแจ้ง, 54 สภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ, 55 พื้นที่, 55 การจัดการสัตว์บก, 63 การจัดการพฤติกรรมและการให้อยู่ร่วมกันเป็นสังคม, 63 การสัตวบาล, 65 การจัดการประชากรสัตว์, 75 สัตว์น้ำ�, 77 สภาพแวดล้อมสำ�หรับสัตว์น้ำ�, 77 สภาพแวดล้อมจุลภาคและสภาพแวดล้อมมหภาค, 77 คุณภาพน้�, 78 ำ ระบบยังชีพ, 79 อุณหภูมิ ความชื้นและการระบายอากาศ, 80 แสงสว่าง, 81 เสียงและการสั่นสะเทือน, 81 ที่อยู่สำ�หรับสัตว์น�, 82 ้ำ สภาพแวดล้อมจุลภาค (สิ่งล้อมรอบอันดับแรก), 82 การเพิ่มพูนสภาพแวดล้อมและการอยู่ร่วมกันเป็นสังคม, 82 ร่มเงา ที่พักกลางแจ้งและที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ, 83 พื้นที่, 83 xxvi

การจัดการสัตว์น�, 84 ้ำ การจัดการพฤติกรรมและการอยู่ร่วมกันเป็นสังคม, 84 การสัตวบาล, 84 การจัดการประชากรสัตว์, 87 เอกสารอ้างอิง, 88 4. การดูแลทางการสัตวแพทย์ 105 การจัดหาและการขนส่งสัตว์, 106 การจัดหาสัตว์, 106 การขนส่งสัตว์, 107 เวชศาสตร์ป้องกัน, 109 ชีวนิรภัยสำ�หรับสัตว์, 109 การกักกัน และ การพักเพื่อปรับสภาพร่างกาย, 110 การแยกสัตว์จากกันตามสภาวะสุขภาพและชนิดของสัตว์, 111 การเฝ้าระวัง การวินิจฉัย การรักษาและการควบคุมโรค, 112 การดูแลทางคลินิกและการจัดการ, 113 การจัดการทางการแพทย์, 114 การดูแลฉุกเฉิน, 114 การเก็บเอกสาร, 115 ศัลยกรรม, 115 การฝึกอบรม, 115 การวางแผนก่อนการศัลยกรรม, 116 สถานที่สำ�หรับการศัลยกรรม, 116 วิธีดำ�เนินการศัลยกรรม, 117 เทคนิคปลอดเชื้อ, 118 การควบคุมระหว่างการผ่าตัด, 119 การดูแลหลังการผ่าตัด, 119 ความเจ็บปวดและทรมาน, 120 การวางยาสลบและการระงับปวด, 121 การุณยฆาต, 123 เอกสารอ้างอิง, 124 5. กายภาพของสถานที่ 133 การพิจารณาเรื่องทั่วไป, 133 สถานที่ตั้ง, 134 การรวมอยู่ที่ศูนย์กลางเปรียบเทียบกับการกระจายออกจากศูนย์กลาง, 134 บริเวณใช้งาน, 135 แนวทางสำ�หรับการก่อสร้าง, 136 ทางเดิน, 136 ประตูห้องสัตว์, 137 หน้าต่างภายนอก, 137 พื้น, 137 xxvii

การระบายน้�ทิ้ง, 138 ำ ผนัง และ ฝ้าเพดาน, 138 การให้ความร้อน, การระบายอากาศ. และ การปรับอากาศ (HVAC), 139 พลังงาน และ แสงสว่าง, 140 พื้นที่เก็บของ, 141 การควบคุมเสียง, 142 การควบคุมการสั่นสะเทือน, 142 บริเวณสำ�หรับทการสุขาภิบาลวัสดุอุปกรณ์, 142 การตรวจควบคุมสภาพแวดล้อม, 143 สถานที่พิเศษ, 144 ศัลยกรรม, 144 สถานที่สกัดกั้นเชื้อโรค, 145 การฉายภาพร่างกาย, 146 การฉายรังสีทั้งตัว, 147 การกักเก็บสิ่งอันตราย, 148 การศึกษาทางพฤติกรรม, 149 ที่อยู่สำ�หรับสัตว์น�, 149 ้ำ การรักษาความปลอดภัยและการควบคุมการเข้าออก, 151 เอกสารอ้างอิง, 151 ภาคผนวก 155 ภาคผนวกท้ายเล่ม ก. บรรณานุกรมเพิ่มเติมที่ได้รับการคัดเลือก 161 สาระตามหัวข้อ, 161 การใช้สัตว์ทดลอง, 162 ทางเลือกอื่นๆ, 162 จรรยาบรรณ และ สวัสดิภาพสัตว์, 163 การออกแบบการทดลอง และ สถิติ, 164 การศึกษาเกี่ยวกับวิธีการวิจัยและการทดสอบ, 165 การจัดการโปรแกรม, 167 เอกสารอ้างอิงทั่วไป, 167 กฎหมาย, กฎข้อบังคับ และ นโยบาย, 168 การให้การศึกษา, 169 การตรวจสอบควบคุมการดูแลและการใช้สัตว์, 169 อาชีวอนามัย และ ความปลอดภัย, 170 สภาพแวดล้อม, ที่อยู่อาศัย และ การจัดการ, 172 เอกสารอ้างอิงทั่วไป, 172 การเพิ่มพูนสภาพแวดล้อม, 173 พันธุกรรม และ สัตว์ที่ได้รับการดัดแปลงทางพันธุกรรม, 175 xxviii

เอกสารอ้างอิงตามชนิดของสัตว์ - สภาพแวดล้อม ที่อยู่อาศัยและ การจัดการ, 176 สัตว์ทางการเกษตร, 176 สัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบก สัตว์เลื้อยคลานและปลา, 178 นก, 179 แมวและสุนัข, 180 สัตว์หายาก สัตว์ป่าและสัตว์สวนสัตว์, 181 ลิง, 182 สัตว์ฟันแทะ และ กระต่าย, 184 สัตว์ชนิดอื่นๆ, 187 การดูแลทางการสัตวแพทย์, 188 การขนส่ง, 188 การวางยาสลบ, ความเจ็บปวด, และ ศัลยกรรม, 188 การเฝ้าระวังโรค, การวินิจฉัย และ การรักษาโรค, 190 พยาธิวิทยา, พยาธิวิทยาคลินิก, และปรสิตวิทยา, 190 เอกสารอ้างอิงเฉพาะสัตว์แต่ละชนิด – การดูแลทางสัตวแพทย์, 191 สัตว์ทางการเกษตร, 191 สัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบก, สัตว์เลื้อยคลาน, และ ปลา, 192 นก, 193 แมวและสุนัข, 193 สัตว์หายาก สัตว์ป่าและสัตว์สวนสัตว์, 193 ลิง, 194 สัตว์ฟันแทะและ กระต่าย, 194 การออกแบบ และ การก่อสร้างสถานที่สำ�หรับสัตว์, 196 ข. หลักเกณฑ์ของรัฐบาลสหรัฐอเมริกาสำ�หรับการดูแล และ การใช้และการดูแลสัตว์มีกระดูกสันหลังในการทดสอบ การวิจัยและการฝึกอบรม 199 ค. ถ้อยแถลงภาระหน้าที่ 201 ง. เกี่ยวกับผู้แต่ง 203 ดรรชนี 209 xxix

Next: 1 Key Concepts »
Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version Get This Book
×
 Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version
MyNAP members save 10% online.
Login or Register to save!
Download Free PDF

This report is the Thai translation of Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition.

A respected resource for decades, the Guide for the Care and Use of Laboratory Animals has been updated by a committee of experts, taking into consideration input from the scientific and laboratory animal communities and the public at large. The Guide incorporates new scientific information on common laboratory animals, including aquatic species, and includes extensive references. It is organized around major components of animal use:

  • Key concepts of animal care and use. The Guide sets the framework for the humane care and use of laboratory animals.
  • Animal care and use program. The Guide discusses the concept of a broad Program of Animal Care and Use, including roles and responsibilities of the Institutional Official, Attending Veterinarian and the Institutional Animal Care and Use Committee.
  • Animal environment, husbandry, and management. A chapter on this topic is now divided into sections on terrestrial and aquatic animals and provides recommendations for housing and environment, husbandry, behavioral and population management, and more.
  • Veterinary care. The Guide discusses veterinary care and the responsibilities of the Attending Veterinarian. It includes recommendations on animal procurement and transportation, preventive medicine (including animal biosecurity), and clinical care and management. The Guide addresses distress and pain recognition and relief, and issues surrounding euthanasia.
  • Physical plant. The Guide identifies design issues, providing construction guidelines for functional areas; considerations such as drainage, vibration and noise control, and environmental monitoring; and specialized facilities for animal housing and research needs.

The Guide for the Care and Use of Laboratory Animals provides a framework for the judgments required in the management of animal facilities. This updated and expanded resource of proven value will be important to scientists and researchers, veterinarians, animal care personnel, facilities managers, institutional administrators, policy makers involved in research issues, and animal welfare advocates.

READ FREE ONLINE

  1. ×

    Welcome to OpenBook!

    You're looking at OpenBook, NAP.edu's online reading room since 1999. Based on feedback from you, our users, we've made some improvements that make it easier than ever to read thousands of publications on our website.

    Do you want to take a quick tour of the OpenBook's features?

    No Thanks Take a Tour »
  2. ×

    Show this book's table of contents, where you can jump to any chapter by name.

    « Back Next »
  3. ×

    ...or use these buttons to go back to the previous chapter or skip to the next one.

    « Back Next »
  4. ×

    Jump up to the previous page or down to the next one. Also, you can type in a page number and press Enter to go directly to that page in the book.

    « Back Next »
  5. ×

    To search the entire text of this book, type in your search term here and press Enter.

    « Back Next »
  6. ×

    Share a link to this book page on your preferred social network or via email.

    « Back Next »
  7. ×

    View our suggested citation for this chapter.

    « Back Next »
  8. ×

    Ready to take your reading offline? Click here to buy this book in print or download it as a free PDF, if available.

    « Back Next »
Stay Connected!