National Academies Press: OpenBook
« Previous: Appendix C: Statement Obligations
Suggested Citation:"Appendix D: About the Author." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 204
Suggested Citation:"Appendix D: About the Author." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 205
Suggested Citation:"Appendix D: About the Author." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 206
Suggested Citation:"Appendix D: About the Author." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 207
Suggested Citation:"Appendix D: About the Author." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 208
Suggested Citation:"Appendix D: About the Author." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 209

Below is the uncorrected machine-read text of this chapter, intended to provide our own search engines and external engines with highly rich, chapter-representative searchable text of each book. Because it is UNCORRECTED material, please consider the following text as a useful but insufficient proxy for the authoritative book pages.

ภาคผนวก ง เกี่ยวกับผู้แต่ง เจเนท ซี. กาเบอร์, (ประธานกรรมการ), สพ.บ., ปร.ด. ได้รับปริญญาสัตวแพทยศาสตร์จากมหาวิทยาลัย แห่งรัฐไอโอว่า และปริญญาเอกด้านพยาธิสรีรวิทยาจากมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน ประสบการณ์ของเธอได้แก่ การวิจยโรคติดต่อทีสถาบันวิจยวิทยาศาสตร์การแพทย์ดานโรคติดต่อของกองทัพบกแห่งสหรัฐฯ (USAMRIID) ั ่ ั ้ อายุรศาสตร์และการวิจยในลิง การประเมิน GLP ของเครืองมือและวัสดุและวิทยาภูมคมกันต่อการปลูกเนือเยือ ั ่ ิ ุ้ ้ ่ ความสนใจของเธอในปัจจุบันคือสาขาการจัดการสถานที่สำ�หรับสัตว์ทดลอง โรคติดต่อต่างๆ อาชีวอนามัย และความปลอดภัยและการจัดการโปรแกรมวิจัย ตำ�แหน่งล่าสุดของเธอคือ รองประธาน การประเมินความ ปลอดภัย ที่บริษัทแบกสเตอร์ เฮลล์แคร์คอพอเรชั่นและปัจจุบันมีอาชีพเป็นที่ปรึกษา อยู่ที่กาเบอร์คอนซัลติ้ง แอลแอลซี ในรัฐนอร์ทแคโรไลน่า ในปัจจุบน ดร. กาเบอร์เป็น สมาชิกของสภาการรับรองมาตรฐาน AAALAC ั International และเคยเป็นประธานสภาฯ เธอเคยอยูในคณะกรรมการปรับปรุง ข้อแนะนำ�สำ�หรับการดูแลและ ่ การใช้สัตว์ทดลอง และคณะกรรมการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง อาร์. เวนย์ บาร์บี, ปร.ด. เป็นศาสตราจารย์และรองผู้อ�นวยการด้านวิจัยของภาควิชาอายุรศาสตร์ฉุกเฉิน ำ โรงเรียนแพทย์ สมาชิกอาวุโสของ VCURES (Virginia Commonwealth University Reanimation Engineering Science Center) และประธาน IACUC ที่มหาวิทยาลัยเวอร์จิเนีย คอมมอนเวลท์ ดร. บาร์บีได้รับปริญญาโท 203

204 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง และเอกด้านสรีรวิทยาและทำ�งานวิจัยที่กี่ยวกับสัตว์หลากหลายชนิด (ค้างคาว แมว ปู สุนัข สัตว์ฟันแทะ และ สุกร) ถึงสามทศวรรษ ในสภาพแวดล้อมการทดลองหลายรูปแบบ งานวิจยของเขาเน้นเรืองการไหลเวียนเลือด ั ่ ล้มเหลวและการกู้ชีวิต ศัลยกรรมเฉียบพลันและเรื้อรังในสัตว์ฟันแทะและการวิเคราะห์เกี่ยวกับการไหลเวียน และความดันเลือด เขาเคยเกียวข้องกับ IACUC ทีสถาบันขนาดเล็ก กลาง และใหญ่เป็นเวลาสองทศวรรษและ ่ ่ คุ้นเคยกับการกำ�กับดูแลโปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ เขาเคยทำ�งานในการศึกษาหลายส่วนทั้งของ NIH และ DOD ดร. บาร์บีเคยเป็นสมาชิกผู้รับทุนออกซ์ฟอร์ด สหราชอาณาจักร ปี 2006 (ผู้รับรางวัล VCU Harris- Manchester) เมื่อเขาพิจารณานโยบาย การฝึกอบรมและประเด็นความปลอดภัยที่เกี่ยวกับการดูแลและการ ใช้สัตว์ในสหราชอาณาจักร โจเซฟ ที. บีลิทสคี, วท.ม., สพ.บ. เป็นผู้จัดการด้านวิจัย มหาวิทยาลัยเซ็นทรัลฟลอริด้า ดร. บีลิทสคี เคย ทำ�งานเกียวกับลิงในสภาพแวดล้อมห้องปฏิบตการมา 20 ปี ตลอดช่วงเวลานีเขาได้ท�งานกับลิงมาแคคหลาย ่ ั ิ ้ ำ ชนิด (ลิงกัง ลิงแสม ลิงญี่ปุ่น ลิงวอก ลิงเสน) ลิงบาบูน (เหลือง เขียว และลูกผสม) ลิงกระรอก ลิงคาปูชิน แมง กาบี้ ชะนี ชิมแปนซี ลิงอุรังอุตัง โบโนโบและกอริลล่า ความเชี่ยวชาญในเรื่องเกี่ยวกับลิงของเขาคือ โรคทาง เดินอาหาร การดูแลลูกสัตว์เกิดใหม่และการจัดการฝูงสัตว์ เขาทำ�งานเกียวกับหนูเมาส์และหนูแรทด้วยในหลาย ่ สถานที่ในต่างประเทศ เขาเป็นจักรกลในการเขียนและการยอมรับหลักเกณฑ์ชีวจรรยาบรรณสำ�หรับการใช้ สัตว์ทดลองในการวิจัยของ NASA (NPD 8910.1) เขาเป็นวิทยากรประจำ�เรื่องหน้าที่ของ IACUC และความ สำ�คัญของจรรยาบรรณในการใช้สัตว์ พื้นฐานของเขามีประสบการณ์ในสถาบันการศึกษา ภาคอุตสาหกรรม และหน่วยราชการในบทบาทต่างๆ เช่น สัตวแพทย์ผู้รับผิดชอบ ผู้จัดการโปรแกรม และนักวิจัย เลห์ แอน เคลทอน, สพ.บ. เป็นผู้อำ�นวยการด้านสุขภาพสัตว์ของพิพิธภัณฑ์ทางทะเลในรัฐบัลติมอร์ ที่นี่เธอ เป็น ประธานของคณะกรรมการสวัสดิภาพสัตว์ ดร. เลห์ แอน เคลทอนได้ท�งานในด้านสวนสัตว์และสถาน ำ แพร่พันธุ์สัตว์ทะเลหรือด้านอายุรกรรมสัตว์เลี้ยงต่างถิ่นเป็นพิเศษตั้งแต่ปีค.ศ. 2000 เธอได้ท�งานกับสัตว์ที่ ำ อยูในระบบสำ�หรับสัตว์น� ทังในระบบหมุนเวียนทังน้�จืดและน้�เค็ม เธอมีประสบการณ์ในการจัดการโรคและ ่ ้ำ ้ ้ ำ ำ ทำ�ให้โปรแกรมป้องกันโรคสัมฤทธ์ผลสำ�หรับปลา สัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบกและสัตว์เลื้อยคลานต่างๆ ตลอด จนนกและสัตว์เลียงลูกด้วยนม เธอเป็นผูได้รบประกาศนีบตรจากสภาผูประกอบการบำ�บัดโรคสัตว์แห่งอเมริกา ้ ้ ั ั ้ (สัตว์ปก) ดร. เคลทอนได้ใช้องค์ความรูของเธออย่างสม่�เสมอในเรืองวงจรไนโตรเจนและพืนฐานการออกแบบ ี ้ ำ ่ ้ ระบบยังชีพอย่างมากมายเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพในการจัดการแบบจำ�กัดพื้นที่เหล่านี้และช่วยให้มั่นใจว่าสัตว์ มีสขภาพตามสมควร เธอยังอยูในคณะกรรมการบริหารของสมาคมสัตวแพทย์สตว์เลือยคลานและสัตว์สะเทิน ุ ่ ั ้ น้ำ�สะเทินบกด้วย บทบาทนี้ท�ให้เธอติดต่อประสานงานกับนักวิจัยชั้นนำ�ในสาขาอายุรศาสตร์สัตว์สะเทินน้ำ� ำ สะเทินบก จอห์น ซี. โดโนแวน, สพ.บ. เป็นประธานบริษัท ไบโอรีซอสซ์ ดร.โดโนแวนมีประสบการณ์เป็นสัตวแพทย์ใน การวิจัยชีวการแพทย์มากกว่าสามสิบปีและเป็นผู้ได้รับวุฒิบัตรจากวิทยาลัยวิทยาศาสตร์สัตว์ทดลองแห่ง

ภาคผนวก ง. เกี่ยวกับผู้แต่ง 205 อเมริกา (ACLAM) หลังจากทำ�งานเจ็ดปีที่กองบัญชาการวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์การแพทย์ของกองทัพ บกแห่งสหรัฐฯ เขาได้ใช้เวลาสิบปีที่สถาบันสุขภาพแห่งชาติโดยเป็นผู้อำ�นวยการส�นักงานวิทยาศาสตร์สัตว์ ำ ทดลองของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ เขาเริ่มชีวิตการงานในอุตสาหกรรมเภสัชภัณฑ์ในปีค.ศ.1994 โดยเป็นผู้ อำ�นวยการอาวุโสแหล่งสัตว์ทดลองทั่วโลกของบริษัทโรนโรเออร์ฟาร์มาซูติคอลส์ ในปี ค.ศ. 1999 ต่อมาเป็น รองประธานสภาเพื่อวิทยาศาสตร์สัตว์ทดลองและสวัสดิภาพสัตว์ของบริษัทอเวนติสโรเออร์ฟาร์มาซูติคอลส์ ในปีค.ศ. 2001 เขาย้ายไปยังบริษัทไวเอทฟาร์มาซูติคอลส์โดยดำ�รงตำ�แหน่งเป็นรองประธานของไบโอรีซอส ส์จนกระทังเกษียรอายุในปีค.ศ. 2007 ในชีวตการทำ�งานดร.โดโนแวนดำ�รงตำ�แหน่งผูน�ผูเป็นมืออาชีพหลาย ่ ิ ้ ำ ้ ด้าน ได้แก่ อธิการของ ACLAM และประธานของสภาแห่งผู้อำ�นวยการของสมาคมการวิจัยทางชีวการแพทย์ แห่งรัฐเพนซิลวาเนีย (PSBR) เขายังช่วยเหลืออีกหลายสภารวมทังทีเกียวกับสมาคมการวิจยทางชีวการแพทย์ ้ ่ ่ ั แห่งชาติ ACLAM PSBR และสมาคมการวิจัยทางชีวการแพทย์แห่งรัฐนิวเจอซี่ย์ เดนนิส เอฟ คอห์น, สพ.บ., ปร.ด. ศาสตราจารย์เกียรติคณ พยาธิวทยาเปรียบเทียบทางคลินค มหาวิทยาลัย ุ ิ ิ โคลัมเบีย เขาได้รบปริญญาสัตวแพทยศาสตร์จากมหาวิทยาลัยแห่งรัฐโอไฮโอและปริญญาดุษฎีบณฑิตในสาขา ั ั จุลชีววิทยาทางการแพทย์จากมหาวิทยาลัยเวสท์เวอร์จิเนีย เขาเป็นผู้ได้รับการรับรองวุฒิบัตรจากสภาของ วิทยาลัยอายุรศาสตร์สตว์ทดลองแห่งอเมริกา เขาได้อำ�นวยการแหล่งสัตว์ทดลอง/โปรแกรมการแพทย์เปรียบ ั เทียบที่ศูนย์การแพทย์ มหาวิทยาลัยเวสท์เวอร์จิเนีย โรงเรียนแพทย์ที่มหาวิทยาลัยเท็กซัส ฮุสตัน และภาค วิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ความสนใจทางวิจัยของเขาได้เกี่ยวข้องกับพยาธิวิทยาของ Mycoplasma pulmonis ในทางเดินหายใจของหนูแรททดลอง และการศึกษาพยาธิวิทยาของระบบประสาท ส่วนกลางและข้อต่อของหนูแรทที่ท�ให้ติดเชื้อด้วยการฉีดเชื้อ M. pulmonis เขาเคยเป็นอดีตนายกสภาของ ำ วิทยาลัยอายุรศาสตร์สัตว์ทดลองแห่งอเมริกาและสมาคมผู้ประกอบการบำ�บัดสัตว์ทดลองแห่งอเมริกา และ เป็นประธานของคณะกรรมการมากมายหลายคณะของสมาคมอายุรศาสตร์สัตว์ทดลองแห่งอเมริกา เขาเคย เป็นสมาชิกสภาของ AAALAC International เป็นสมาชิกของการอภิปรายกลุ่มเรื่องการุณยฆาตของสมาคม สัตวแพทยศาสตร์แห่งอเมริกาปีค.ศ. 1986 และเป็นกรรมการของสถาบันเพื่อทรัพยากรสัตว์ทดลองเพื่อการ ปรับปรุง ข้อแนะนำ� ปีค.ศ. 1996 นิล เอส. ลิพแมน, สพ.บ. เป็นผูอ�นวยการของศูนย์การแพทย์และพยาธิวทยาเปรียบเทียบ ให้บริการแก่ศนย์ ้ ำ ิ ู มะเร็งอนุสรณ์แก่สโลน-เคทเทอร์ (MSKCC) และ วิทยาลัยแพทย์เวลล์คอร์เนลล์ แห่งมหาวิทยาลัยคอร์เนลล์ และเป็นศาสตราจารย์ทางสัตวแพทย์ ด้านพยาธิวิทยาและอายุรศาสตร์สัตว์ทดลองที่เวลล์คอร์เนลล์ ตลอด จนสมาชิกปฏิบัติการที่สถาบันสโลน-เคทเทอร์ MSKCC ดร. ลิพแมนเป็นผู้ได้รับวุฒิบัตรจากวิทยาลัย อายุรศาสตร์สตว์ทดลองแห่งอเมริกา (ACLAM) มีประสบการณ์ดานอายุรศาสตร์และวิทยาศาสตร์สตว์ทดลอง ั ้ ั มากกว่า 25 ปี ดร. ลิพแมนมีความชำ�นาญในการออกแบบสถานทีเสมือนธรรมชาติ วิศวกรรม และการดำ�เนิน ่ การ ได้ออกแบบสถานที่ซึ่งโดยรวมแล้วมีพื้นที่คร่าวๆ มากกว่า 1.5 ล้านตารางฟุต และได้ควบคุมดูแลการ ดำ�เนินงานโปรแกรมทรัพยากรสัตว์ขนาดใหญ่ของสถานศึกษา ความสนใจหลักทางวิจัยของเขา คือ การ

206 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง ประยุกต์ใช้ และรวมการพัฒนาและวิเคราะห์เทคโนโลยีใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับระบบที่อยู่สัตว์ฟันแทะ และการผลิต monoclonal antibody คุณสมบัติของโมเดลโรคต่างๆ กัน การเข้าใจพยาธิกำ�เนิดของความผิด ปกติของต่อมไร้ทอทีกระทบต่อชนิดของสัตว์ทดลองและการพัฒนาและการวิเคราะห์กลยุทธ์การรักษาด้วยวิธี ่ ่ ใหม่ๆ ตลอดหนทางการทำ�งานของเขา ดร. ลิพแมน ได้มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างมากมายในการฝึกอบรมบัณฑิต ผู้เชี่ยวชาญด้านสัตว์ทดลอง พอล ลอคอ์, MPH, JD, DrPH เป็นนักวิทยาศาสตร์ทางด้านสภาพแวดล้อมสุขภาพและนักกฎหมาย เป็นรอง ศาสตราจารย์ทภาควิชาวิทยาศาสตร์ดานสภาพแวดล้อมสุขภาพ สาขาพิษวิทยา โรงเรียนสาธารณสุขแห่งมหา ี่ ้ วิทยาลัยจอห์นฮอพกินส์บลูมเบอร์ก เขาได้รบปริญญาโททางสาธารณสุขจากมหาวิทยาลัยเยล โรงเรียนแพทย์ ั ปริญญาเอกทางสาธารณสุขและนิติศาสตร์บัณฑิตจากมหาวิทยาลัยแวนเดอร์เบลท์ โรงเรียนกฎหมาย ก่อน มาร่วมงานกับภาควิชาวิทยาศาสตร์ด้านสภาพแวดล้อมสุขภาพ เขาเป็นรองผู้อ�นวยการ คณะกรรมาธิการพิ ำ วท์สภาพแวดล้อมสุขภาพและผู้อำ�นวยการศูนย์สำ�หรับสาธารณสุขและกฎหมายที่สถาบันกฎหมายสภาพ แวดล้อม งานวิจัยและผลงานของ ดร. ลอคอ์เน้นเรืองการตัดสินใจใช้วทยาศาสตร์ด้านสภาพแวดล้อมสุขภาพ ่ ิ และพิษวิทยาในการตรากฏข้อบังคับและนโยบายและวิทยาศาสตร์ด้านสภาพแวดล้อมสุขภาพมีอิทธิพลต่อ กระบวนการกำ�หนดนโยบายได้อย่างไร งานทีเขาศึกษาได้แก่ วิธทดแทนการทดสอบทีใช้สตว์ในการวิจยชีวการ ่ ี ่ ั ั แพทย์ โดยเน้นโดยเฉพาะเรื่องการทดสอบความเป็นพิษ เขายังคงขมักเขม้นทำ�งานโปรแกรมวิจัยศึกษากัมต ภาพรังสีและนโยบายป้องกันกัมตภาพรังสี ดร. ลอคอ์อ�นวยการโปรแกรมปริญญาเอกด้านสาธารณสุขทีภาค ำ ่ วิชาวิทยาศาสตร์ด้านสภาพแวดล้อมสุขภาพ และร่วมอำ�นวยการโปรแกรมวุฒิบัตรทางวิทยาศาสตร์และพิษ วิทยาอย่างมีมนุษยธรรมที่จอห์นฮอบกินส์ จากปี ค.ศ. 2004 ถึง ค.ศ. 2009 เขาเป็นสมาชิกสภาบัณฑิตยสภา การศึกษาวิทยาศาสตร์ดานนิวเคลียร์และการแผ่รงสีแห่งชาติ และได้เป็นสมาชิกของคณะกรรมการผูเชียวชาญ ้ ั ้ ่ ห้าคณะของบัณฑิตยสภาวิทยาศาสตร์แห่งชาติ/สภาวิจัยแห่งชาติ เขาเป็นนักกฎหมายก่อนการยื่นคำ�ร้องต่อ ศาลรัฐนิวยอร์กและนิวเจอร์ซี่ มณฑลโคลัมเบีย ศาลอุทธรณ์แห่งสหรัฐฯ สำ�หรับรอบที่สองและศาลสูงแห่ง สหรัฐฯ ท่านผู้ทรงเกียรติ จอห์น เมลเชอร์, สพ.บ. ได้รับปริญญาสัตวแพทยศาสตร์บัณฑิตจากมหาวิทยาลัยแห่งรัฐ ไอโอว่า เคยทำ�งานสัตวแพทย์ในรัฐมอนทาน่าจนถึงปี ค.ศ. 1969 ซึงเป็นปีทเขาได้รบเลือกตังเป็นสมาชิกสภา ่ ี่ ั ้ ผู้แทนราษฎรแห่งสหรัฐฯ เขาเคยเป็นสมาชิกรัฐสภาแปดปีและเป็นวุฒิสมาชิกของสหรัฐฯ 12 ปี ทั้งในสภาผู้ แทนราษฎรและสภาสูง ท่านวุฒสมาชิกเมลเชอร์ได้รบการยกย่องเป็นทียอมรับในความสนใจเรืองเกษตรกรรม ิ ั ่ ่ การปกป้องที่ดินสาธารณะ ที่น่าจดจำ�คือที่ดินของสำ�นักงานบริการป่าไม้และสำ�นักการจัดการที่ดินและ สวัสดิภาพสัตว์และการพิทักษ์สุขภาพสัตว์ ในปี ค.ศ. 1984 เขามีส่วนร่วมในกฎหมายสวัสดิภาพสัตว์ในการ แก้ไขที่ต้องกำ�หนดการพิจารณาสุขภาพจิตของลิงที่ถูกใช้ในการวิจัยทางการแพทย์ หลังเกษียณจากสภาสูง ท่านวุฒิสมาชิกเมลเชอร์ได้สถาปนาการทำ�งานรองโดยเป็นที่ปรึกษาให้สมาคมสัตวแพทย์แห่งอเมริกาและ สมาคมวิทยาลัยสัตวแพทย์แห่งอเมริกา ท่านวุฒิสมาชิกเมลเชอร์เป็นผู้แทนทัศนคติสาธารณะ

ภาคผนวก ง. เกี่ยวกับผู้แต่ง 207 เฟรด ดับเบิลยู. ควิมบี, สพ.บ., ปร.ด. เป็นผู้ได้รับการรับรองวุฒิบัตรจากสภาของวิทยาลัยอายุรศาสตร์สัตว์ ทดลองแห่งอเมริกา ได้รบปริญญาเอกพยาธิวทยา เชียวชาญในการประเมินหน้าทีของภูมคมกันในสัตว์ ก่อน ั ิ ่ ่ ิ ุ้ เกษียณในปี ค.ศ. 2007 เขาเคยเป็นรองประธานร่วมที่มหาวิทยาลัยร็อกกี้เฟลเลอร์ ในช่วงเวลากว่า 35 ปี เขา ได้รับผิดชอบดูแลโปรแกรมวิจัยที่มหาวิทยาลัยสามแห่ง (ทัฟทส์ คอร์เนลล์ และร็อกกี้เฟลเลอร์) และดำ�รง ตำ�แหน่งศาสตราจารย์ที่วิทยาลัยแพทย์และสัตวแพทย์ของคอร์เนลล์ เขาทำ�วิจัยและบรรยายสาขาวิชา ภูมิคุ้มกันวิทยา พยาธิวิทยาและพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม โดยงานวิจัยของเขาเน้นเรื่องกลุ่มอาการช็อคจากพิษ การเป็นพิษในสิงแวดล้อมจากสารโพลีคลอริเนทเท็ด ไบเฟนนิลส์ (PCBs) ภูมคมกันไม่ท�งานในสุนขเลียง โดย ่ ่ ิ ุ้ ำ ั ้ การเป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านสัตว์ทดลอง เขาได้ออกแบบและรับผิดชอบดูแลการก่อสร้างสถานที่สำ�หรับสัตว์ ทดลอง 5 แห่ง และสวนสัตว์หนึงแห่ง ดร. ควิมบีมประสบการณ์กว้างขวางในสัตว์ทดลองหลากหลายชนิด เช่น ่ ี สัตว์ฟนแทะ สุนข ลิง ปศุสตว์ สัตว์ปกและปลา และได้มผลงานตีพมพ์เรืองโรค การดูแล และ/หรือทีอยูส�หรับ ั ั ั ี ี ิ ่ ่ ่ ำ สัตว์เหล่านั้น เขาได้เป็นสมาชิกของคณะกรรมการของ NAS/NRC หลายคณะ เช่น คณะกรรมการ ข้อแนะนำ� คณะกรรมการสัตว์ฟนแทะทีมภมคมกันก้�กึง (ประธาน) คณะกรรมการสัตว์ทถกปรับเปลียนจีน คณะกรรมการ ั ่ ี ู ิ ุ้ ำ ่ ี่ ู ่ เพื่อพัฒนามาตรฐานสำ�หรับสุนัข (ประธาน) คณะกรรมการการผลิต monoclonal antibody คณะกรรมการ การประเมินการเพิมการมีสวนร่วมของสัตวแพทย์ในการวิจยชีวการแพทย์ เขาเป็นสมาชิกของสภา ILAR และ ่ ่ ั เป็นประธานกรรมการบรรณาธิการของวารสาร ILAR News ปัจจุบันเขาเป็นสมาชิกของคณะกรรมการเพื่อ การประเมินความจำ�เป็นของกำ�ลังแรงงานสาขาสัตวแพทยศาสตร์ในปัจจุบนและอนาคต เขาเป็นสมาชิกผู้ก่อ ั ตั้งสมาคมเพื่อจรรยาบรรณทางสัตวแพทย์ เป็นสมาชิกสภาของผู้อำ�นวยการสำ�หรับสมาคมแห่งชาติเพื่อการ วิจัยชีวการแพทย์ และสมาชิกของคณะกรรมการวางแผนกลยุทธ์ของ AAALAC International แพททริเซีย วี. เทอร์เนอร์, วท.ม., สพ.บ., DVSc เป็นรองศาสตราจารย์และหัวหน้าโครงการวิทยาศาสตร์ สัตว์ทดลอง ในภาควิชาพยาธิชววิทยา มหาวิทยาลัยเกวลป์ ประเทศแคนาดา ทีปจจุบนเธอดำ�รงตำ�แหน่งเป็น ี ่ ั ั ประธานกรรมการการดูแลสัตว์ด้วย เธอมีปริญญาเอกด้านพยาธิวิทยาเปรียบเทียบ และเป็นผู้ได้รับวุฒิบัตร ทั้งจากวิทยาลัยอายุรศาสตร์สัตว์ทดลองแห่งอเมริกาและจากสภาพิษวิทยาแห่งอเมริกา ดร. เทอร์เนอร์มี ประสบการณ์การจัดการสภาการดูแลสัตว์แห่งแคนาดา ซึงสถานทีส�หรับสัตว์ทปฏิบตตามเกณฑ์มสตว์ทดลอง ่ ่ำ ี่ ั ิ ีั หลากชนิด (ปลา สัตว์ฟันแทะ แมว สุกร แกะ และลิง) ในทั้งภาคการศึกษาและอุตสาหกรรม (GLP) ดร. เท อร์เนอร์เป็นผู้เชี่ยวชาญสมทบของ AAALAC International โดยมีความรู้ในแนวทางปฏิบัติและกฎข้อบังคับ ปัจจุบันของสหรัฐฯ ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสัตว์ทดลองและการใช้ ความสนใจในงานวิจัยของเธอ ได้แก่ ภูมคมกันทีมมาแต่ก�เนิดและโรคติดเชือ พิษพยาธิวทยา และปฎิกรยาระหว่างสัตว์ฟนแทะและสภาพแวดล้อม ิ ุ้ ่ ี ำ ้ ิ ิิ ั เพราะมีความเกียวโยงกับความอ่อนแอเป็นโรคง่าย ในปี ค.ศ. 2007 เธอเป็นผูได้รบรางวัลสวัสดิภาพสัตว์แห่ง ่ ้ ั อเมริกาเหนืออย่างเป็นทางการ ซึ่งสนับสนุนโดยพร็อคเทอร์แอนแกมเบิลร่วมกับสมาคมมนุษยธรรมแห่ง อเมริกา

208 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง เจฟฟรี เอ. วูด, สพ.บ., ปร.ด., DVSc เป็นรองศาสตราจารย์ในภาควิชาพยาธิชีววิทยา ที่วิทยาลัยสัตวแพทย์ ออนทาริโอ มหาวิทยาลัยเกวลป์ แคนาดา ดร. วูดได้รับปริญญาเอกในวิชาชีววิทยาของมะเร็ง และปริญญา เอกในด้านพยาธิวิทยาทางสัตวแพทย์ เขาได้เกี่ยวข้องกับการออกแบบหรือการจำ �แนกคุณลักษณะพันธุ วิศวกรรมของสัตว์ฟนแทะหลายร้อยชนิด ทังขณะทีเคยดำ�รงตำ�แหน่งเป็นผูอ�นวยการด้านพยาธิวทยาทีศนย์ ั ้ ่ ้ ำ ิ ่ ู เพือการสร้างโมเดลโรคมนุษย์ทเมืองโตรอนโตและในตำ�แหน่งปัจจุบน ห้องปฏิบตการของเขาทำ�งานวิจยพันธุ ่ ี่ ั ั ิ ั ศาสตร์ของมะเร็ง และกระบวนการของการแพร่กระจายทั่วร่างกาย โดยเน้นมะเร็งกระดูกและต่อมลูกหมาก งานวิจัยร่วมของ ดร. วูด ได้แก่ โครงการวิจัยหลายๆ ด้านที่ครอบคลุมมะเร็งหลากหลายรูปแบบ ตลอดจน การศึกษาชีววิทยาของสเต็มเซลล์ ภูมิคุ้มกันวิทยาและการอักเสบ แฮนโน เวอร์เบล, Dr.sc.nat. เป็นศาสตราจารย์ทางสวัสดิภาพสัตว์และพฤติกรรมศาสตร์ของสัตว์ทมหาวิทยา ี่ ลัยจัสทัส ลีบิก ในเมืองกีสเซน เยอรมันนี เขาได้ศึกษาชีววิทยา (สัตววิทยา) ที่มหาวิทยาลัยเบอร์น สวิสเซอร์แลนด์ และได้ส�เร็จการศึกษาจาก ETH เมืองซูรค สวิสเซอร์แลนด์ ได้รบปริญญาเอกด้านวิทยาศาสตร์ ำ ิ ั ธรรมชาติ เขามีประสบการณ์ด้านพฤติกรรมของสัตว์และในการประเมินความเป็นอยู่ที่ดีของสัตว์ทาง วิทยาศาสตร์และได้ท�งานโดยส่วนใหญ่กบสัตว์ฟนแทะ แต่กท�ในกระต่าย สุนข สัตว์ปกและม้าด้วย งานวิจย ำ ั ั ็ ำ ั ี ั ของเขาเน้นทีการหล่อหลอมสมองและพฤติกรรมทีขนตรงกับสภาพแวดล้อมโดยสัมพันธ์กบการเลียงสัตว์และ ่ ่ ึ้ ั ้ สวัสดิภาพสัตว์ ในปี ค.ศ. 2005 ดร.เวอร์เบลได้รับรางวัลงานวิจัยสวัสดิภาพสัตว์ของเฮสเซน และในปี ค.ศ. 2009ได้รบรางวัลงานวิจยสวัสดิภาพสัตว์ของเฟลิกซ์แวนเคล เขาเป็นสมาชิกของสภาสวัสดิภาพสัตว์ของรัฐบาล ั ั เยอรมันนี เป็นเจ้าพนักงานสวัสดิภาพสัตว์กลางของมหาวิทยาลัยแห่งกีสเซน และหัวหน้าของศูนย์กลางสถาน ที่ส�หรับสัตว์ของมหาวิทยาลัย เขายังเป็นสมาชิกสภาของสมาคมพฤติกรรมศาสตร์ของสัตว์ประยุกต์ระหว่าง ำ ประเทศ (ISAE) เป็นบรรณาธิการของ วารสารวิทยาศาสตร์สวัสดิภาพสัตว์ประยุกต์ และเป็นสมาชิกคณะ บรรณาธิการของวารสาร วิทยาศาสตร์พฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ของสัตว์

Next: Index »
Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version Get This Book
×
MyNAP members save 10% online.
Login or Register to save!
Download Free PDF

This report is the Thai translation of Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition.

A respected resource for decades, the Guide for the Care and Use of Laboratory Animals has been updated by a committee of experts, taking into consideration input from the scientific and laboratory animal communities and the public at large. The Guide incorporates new scientific information on common laboratory animals, including aquatic species, and includes extensive references. It is organized around major components of animal use:

  • Key concepts of animal care and use. The Guide sets the framework for the humane care and use of laboratory animals.
  • Animal care and use program. The Guide discusses the concept of a broad Program of Animal Care and Use, including roles and responsibilities of the Institutional Official, Attending Veterinarian and the Institutional Animal Care and Use Committee.
  • Animal environment, husbandry, and management. A chapter on this topic is now divided into sections on terrestrial and aquatic animals and provides recommendations for housing and environment, husbandry, behavioral and population management, and more.
  • Veterinary care. The Guide discusses veterinary care and the responsibilities of the Attending Veterinarian. It includes recommendations on animal procurement and transportation, preventive medicine (including animal biosecurity), and clinical care and management. The Guide addresses distress and pain recognition and relief, and issues surrounding euthanasia.
  • Physical plant. The Guide identifies design issues, providing construction guidelines for functional areas; considerations such as drainage, vibration and noise control, and environmental monitoring; and specialized facilities for animal housing and research needs.

The Guide for the Care and Use of Laboratory Animals provides a framework for the judgments required in the management of animal facilities. This updated and expanded resource of proven value will be important to scientists and researchers, veterinarians, animal care personnel, facilities managers, institutional administrators, policy makers involved in research issues, and animal welfare advocates.

  1. ×

    Welcome to OpenBook!

    You're looking at OpenBook, NAP.edu's online reading room since 1999. Based on feedback from you, our users, we've made some improvements that make it easier than ever to read thousands of publications on our website.

    Do you want to take a quick tour of the OpenBook's features?

    No Thanks Take a Tour »
  2. ×

    Show this book's table of contents, where you can jump to any chapter by name.

    « Back Next »
  3. ×

    ...or use these buttons to go back to the previous chapter or skip to the next one.

    « Back Next »
  4. ×

    Jump up to the previous page or down to the next one. Also, you can type in a page number and press Enter to go directly to that page in the book.

    « Back Next »
  5. ×

    To search the entire text of this book, type in your search term here and press Enter.

    « Back Next »
  6. ×

    Share a link to this book page on your preferred social network or via email.

    « Back Next »
  7. ×

    View our suggested citation for this chapter.

    « Back Next »
  8. ×

    Ready to take your reading offline? Click here to buy this book in print or download it as a free PDF, if available.

    « Back Next »
Stay Connected!