National Academies Press: OpenBook
« Previous: Front Matter
Suggested Citation:"1 Key Concepts." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 1
Suggested Citation:"1 Key Concepts." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 2
Suggested Citation:"1 Key Concepts." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 3
Suggested Citation:"1 Key Concepts." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 4
Suggested Citation:"1 Key Concepts." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 5
Suggested Citation:"1 Key Concepts." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 6
Suggested Citation:"1 Key Concepts." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 7
Suggested Citation:"1 Key Concepts." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 8
Suggested Citation:"1 Key Concepts." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 9
Suggested Citation:"1 Key Concepts." National Research Council. 2011. Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version. Washington, DC: The National Academies Press.
×
Page 10

Below is the uncorrected machine-read text of this chapter, intended to provide our own search engines and external engines with highly rich, chapter-representative searchable text of each book. Because it is UNCORRECTED material, please consider the following text as a useful but insufficient proxy for the authoritative book pages.

1 แนวความคิดหลัก Key Concepts ข้ อแนะนำ�สำ�หรับการดูแลและการใช้สตว์ทดลอง (ข้อแนะนำ�) ฉบับนียนยันหลักการว่าทุกๆท่านผูดแล ั ใช้ หรือผลิตสัตว์ต่างๆสำ�หรับการวิจัย การทดสอบหรือการสอน ต้องแสดงความรับผิดชอบต่อความ ้ ื ้ ู เป็ น อยู่ อ ย่ า งดี ข องสั ต ว์ เ หล่ า นั้ น ข้ อ แนะนำ � ถู ก เขี ย นโดยนั ก วิ ท ยาศาสตร์ และสั ต วแพทย์ เ พื่ อ นักวิทยาศาสตร์ และ สัตวแพทย์ให้ยกระดับความเข้มแข็ง และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของการวิจัย ชีวการแพทย์ที่ใช้สัตว์ทดลองตามที่ถูกคาดหวังโดยเพื่อนร่วมวิชาชีพและสังคมในภาพรวม ข้อแนะนำ�มีบทบาทสำ�คัญในการตัดสินใจ เกียวกับการใช้สตว์ทดลองทีมกระดูกสันหลัง เพราะข้อแนะนำ� ่ ั ่ ี กำ�หนดมาตรฐานขั้นต่ำ�ทางจริยธรรม การปฎิบัติและการดูแลสำ�หรับนักวิจัยและสถาบันของเขาเหล่านั้น การใช้สัตว์ทดลองต่างๆสำ�หรับการวิจัย การสอน การทดสอบและการผลิตที่ถูกควบคุมหรือมีผลกระทบ โดยกฎหมาย กฎข้อบังคับและมาตรฐานต่างๆของรัฐบาลกลางและของท้องถิ่นที่มีอยู่มากมาย ตัวอย่างเช่น ในสหรัฐอเมริกามีกฎหมายสวัสดิภาพสัตว์ (AWA 1990), กฎข้อบังคับต่างๆ (PL 89-544: USDA 1985) และ/หรือ นโยบายของสำ�นักงานบริการสาธารณสุข (PHS) (PHS 2002) มีการอภิปรายการปฏิบตตาม กฎหมาย ั ิ กฎข้อบังคับระเบียบและมาตรฐานต่างๆเหล่านี้ (หรือฉบับแก้ไขปรับปรุงใหม่) เพื่อการวางรากฐานและ การดำ�เนินงานโปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง เมื่อนำ�มาผนวกรวมกัน ผลของการปฎิบัติตามกฎหมาย กฎข้อบังคับและมาตรฐานต่างๆเหล่านี้คือ การสร้างระบบการปกครองตนเอง และการกำ�กับดูแลตามกฎข้อบังคับทีผกพันนักวิจยและสถาบันต่างๆ ทีใช้ ่ ู ั ่ สัตว์ ทั้งนักวิจัยและสถาบันต่างๆที่ใช้สัตว์มีภาระหน้าที่อย่างเข้มแข็งต่อการดูแลและการใช้สัตว์อย่างมี 1

2 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง มนุษยธรรมที่ได้รับการสนับสนุนโดยหลักเกณฑ์ต่างๆทางการปฎิบัติ จริยธรรมและวิทยาศาสตร์ ระบบการ ปกครองตนเองนี้วางรากฐานโปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์อย่างเข้มงวด และให้ความยืดหยุ่นในการ เติมเต็มความรับผิดชอบเพื่อให้การดูแลอย่างมีมนุษยธรรม ขอบเขตโดยเฉพาะและลักษณะของภาระหน้าที่ สามารถผันแปรบนรากฐานระเบียบวินยทางวิทยาศาสตร์ ลักษณะของการใช้สตว์และชนิดของสัตว์ทเกียวข้อง ั ั ี่ ่ แต่เพราะว่ามันมีผลกระทบต่อการดูแลและการใช้สัตว์ในทุกสถานะการณ์ ภาระหน้าที่นี้ต้องมีผู้ผลิตสัตว์ ผู้สอน นักวิจัยและสถาบันต่างๆให้ดำ�เนินการประมวลผลตรงตามวัตถุประสงค์ต่างๆของการใช้สัตว์ทดลอง ตามที่ได้เสนอไว้ ข้อแนะนำ�เป็นศูนย์กลางเพื่อการวิเคราะห์เหล่านี้และเพื่อการพัฒนาโปรแกรมหนึ่ง ซึ่งการ ดูแลอย่างมีมนุษยธรรมถูกรวมเข้าไปในทุกๆส่วนของการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง การนำ�ไปใช้ประโยชน์และเป้าหมายต่างๆ ในข้อแนะนำ� สัตว์ทดลอง (ถูกเรียกว่าสัตว์ได้ด้วย) ถูกให้คำ�นิยามโดยทั่วไปหมายถึง สัตว์มีกระดูก สันหลังชนิดใดก็ได้ (เช่น สัตว์ทดลองชนิดดั้งเดิมต่างๆ ปศุสัตว์ สัตว์ป่าและสัตว์น้ำ�) ที่ถูกผลิตเพื่อ หรือ ถูกใช้ ในการวิจัย การทดสอบหรือการสอน การใช้สัตว์มีความหมายคือการดูแลและใช้อย่างถูกต้อง และการปฏิบัติ อย่างมีมนุษยธรรมต่อสัตว์ทดลองที่ถูกผลิตเพื่อ หรือ ถูกใช้ในการวิจัย การทดสอบหรือการสอน การพิจารณาตามความเหมาะสมหรือการเน้นโดยเฉพาะสำ�หรับสัตว์เพือการเกษตร และสัตว์ชนิดทีไม่ ่ ่ เคยใช้ในอดีต ข้อแนะนำ� ไม่ได้กล่าวถึงในรายละเอียดถึง สัตว์เพื่อการเกษตรที่ถูกใช้ในการผลิต การวิจัย และการ สอนเพื่อการเกษตร สัตว์ป่า และสัตว์น้ำ�ที่ถูกศึกษาใน สภาพธรรมชาติ หรือสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง (เช่น สัตว์ ทะเลที่มีหนวด cephalopods) ที่ถูกใช้ในการวิจัย แต่วาง รากฐานหลักเกณฑ์อย่างทั่วๆ ไป และการพิจารณาทาง จริ ย ธรรมต่ า งๆ ซึ่ ง สามารถประยุ ก ต์ ใช้ กั บ สั ต ว์ ช นิ ด และสถานะการณ์เหล่านี้ด้วย มีเอกสารอ้างอิงร่วมกับ แหล่งเอกสารเพิ่มเติมและข้อมูลเสริมเกี่ยวกับการแพร่ขยายพันธุ์ การดูแลการจัดการและการใช้สัตว์ทดลอง ชนิดที่ได้คัดเลือกไว้ ให้ผู้อ่านมีอยู่ในเอกสารที่ตีพิมพ์โดยสถาบันเพื่อการวิจัยสัตว์ทดลอง (ILAR) และ องค์การอื่นๆ (ภาคผนวก ก.) เป้าหมายของข้อแนะนำ� คือ ส่งเสริมการดูแลและ การใช้สัตว์สัตว์ทดลองอย่างมีมนุษยธรรม โดยการให้ ข้ อ มู ล ที่ จ ะเสริ ม การเป็ น อยู่ อ ย่ า งดี ข องสั ต ว์ คุ ณ ภาพ การวิ จั ย และความเจริ ญ ก้ า วหน้ า ขององค์ ค วามรู้ ท าง วิ ท ยาศาสตร์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งต่ อ ทั้ ง มนุ ษ ย์ แ ละสั ต ว์ คณะ กรรมการตระหนักว่ามีการใช้สตว์ตางๆชนิดกันในการวิจย ั ่ ั เพิ่มขึ้นมาก และนักวิจัยและสถาบันต่างๆ จะเผชิญความท้าทายใหม่ๆและมีลักษณะเฉพาะต่างๆเพื่อการ

แนวความคิดหลัก 3 ประยุกต์ใช้ข้อแนะนำ�ในสถานะการณ์เหล่านั้น เพื่อการตัดสินใจเรื่องเหล่านั้น เป็นสิ่งสำ�คัญให้ระลึกอยู่ในใจ เสมอว่าข้อแนะนำ�จงใจให้ข้อมูลเพื่อช่วยเหลือนักวิจัย คณะกรรมการการดูแลและการใช้สัตว์ทดลองของ สถาบัน (IACUCs) สัตวแพทย์และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่างๆ ในการยืนยันว่าการดำ�เนินการโปรแกรมการดูแล และการใช้สัตว์ต่างๆได้อย่างมีประสิทธิผลและอย่างเหมาะสม เนื้อหาข้อแนะนำ�ตลอดทั้งเล่มกระตุ้นให้ นักวิทยาศาสตร์และสถาบันต่างๆใช้ความคิดและใคร่ครวญอย่างรอบคอบเพื่อการตัดสินใจในการใช้สัตว์ การนำ�ไปสู่การพิจารณาความมีส่วนร่วมการใช้ดังกล่าวจะให้ความรู้ใหม่ๆ การคำ�นึงถึงจริยธรรมต่างๆ และ การมีอยู่ของสิ่งทดแทนการใช้สัตว์ (NRC 1992) มีการอภิปรายกลยุทธ์ทางการปฏิบัติเพื่อการตัดสินใจ การใช้ หลัก “สามอาร์” (การแทนที่ การลดจำ�นวนและการลดความเจ็บปวด) ตามรายละเอียดข้างล่าง สถาบันต่างๆ ควรใช้ค�แนะนำ�ต่างๆในข้อแนะนำ�เป็นพืนฐานสำ�หรับการพัฒนาโปรแกรมการดูและการใช้สตว์ทดลองอย่าง ำ ้ ครอบคลุมและในกระบวนการการปรับปรุงโปรแกรมนี้อย่างต่อเนื่อง ผู้อ่านที่ได้มุ่งหมายไว้และการใช้ข้อแนะนำ� ข้อแนะนำ� ตั้งใจทำ�ให้ครอบคลุมผู้อ่านอย่างกว้างขวางและแตกต่างกัน ได้แก่ ประชาคมทางวิทยาศาสตร์ ผู้บริหาร คณะกรรมการการดูแลและการใช้สัตว์ทดลองของสถาบัน (IACUCs) สัตวแพทย์ วิทยากรผู้ให้ความรู้และผู้ให้การฝึกอบรม องค์กรผู้ให้การรับรองมาตรฐาน ผู้บังคับตามกฎหมาย สาธารณะ ข้อแนะนำ�มีความหมายต่อผู้อ่านในเนื้อหาอย่างครอบคลุม เพราะมีแนวความคิดหลักอย่างมากมาย ตลอดทังเล่มทีอาจมีประโยชน์ หัวข้อต่างๆแต่ละหัวข้อจะมีความเกียวข้องโดยเฉพาะกับผูใช้เฉพาะกลุม และ ้ ่ ่ ้ ่ ตังใจให้ผอานค้นคว้าหารายละเอียดเพิมเติมในเอกสารอ้างอิงทีมี (รวมทังทีมในภาคผนวก ก.) ในหัวข้อต่างๆ ้ ู้ ่ ่ ่ ้ ่ ี ที่สนใจ สมาชิกของประชาคมวิทยาศาสตร์ (นักวิจัยและผู้ใช้สัตว์ทั้งหลาย) จะพบประโยชน์ของข้อแนะนำ� บท ที่ 1 และ 2 (และบางส่วนของบทที่ 4) สำ�หรับการมีปฏิสัมพันธ์ต่างๆของท่านเหล่านั้นกับ IACUC สัตวแพทย์ ผู้รับผิดชอบและผู้บริหารที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสัตว์ ตลอดจนการเตรียมโปรโตคอล (protocol) การดูแลและ การใช้สตว์ คณะกรรมการต่างๆผูทบทวนทางวิทยาศาสตร์และบรรณาธิการวารสารอาจเลือกอ้างอิงถึงหลายๆ ั ้ ส่วนในข้อแนะนำ�เพื่อพิจารณาว่า นักวิทยาศาสตร์ผู้เกี่ยวข้องกับโครงการและต้นฉบับ ได้ทำ�ตามมาตรฐาน ต่างๆอย่างเหมาะสมในการวางแผนการใช้สตว์ ข้อแนะนำ�สามารถช่วย IACUCs และ ผูบริหารในการทบทวน ั ้ โปรโตคอล การประเมินและการกำ�กับดูแลโปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ สัตวแพทย์ควรพบว่าบทที่ 3 ถึง บทที่ 5 มีคุณประโยชน์สำ�หรับการกำ�กับดูแลและการสนับสนุนการดูแลและการใช้สัตว์ วิทยากรผู้ให้ความรู้

4 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง และผู้ให้การฝึกอบรมสามารถใช้ข้อแนะนำ�เป็นเอกสารประกอบ เพื่อประเมินทั้งขอบเขตและความเพียงพอ ของโปรแกรมการฝึกอบรมต่างๆที่ได้รับการสนับสนุนจากสถาบัน องค์กรผู้ให้การรับรองมาตรฐานจะพบว่า ข้อแนะนำ�มีประโยชน์เพื่อการประเมินโปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ทดลองต่างๆในหลายๆ สาขาที่ ไม่กำ�หนดอยู่ในมาตรฐานทางวิศวกรรมอย่างเข้มงวด (ดู นิยามคำ�ศัพท์ข้างล่าง) ในท้ายสุดตัวแทนสาธารณะ ควรรู้สึกมั่นใจว่าการปฏิบัติสอดคล้องตามข้อแนะนำ�จะช่วยทำ�ให้มั่นใจว่ามีการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง อย่างมีมนุษยธรรม ขอเตือนผู้อ่านว่า ข้อแนะนำ�ถูกใช้โดยกลุ่มต่างๆที่มีความหลากหลายภายในสถาบันและองค์กรแห่ง ชาติและนานาประเทศ มีหลายๆแห่งไม่อยูภายใต้การบังคับทังโดยกฎหมายสวัสดิภาพสัตว์และนโยบาย PHS ่ ้ ข้อแนะนำ�ใช้ค�ศัพท์บางคำ�ทีถกนิยามให้เป็นคำ�ศัพท์ตามบทบัญญัตของสหรัฐฯ และแสดงถึงแนวคิดโดยทัวไป ำ ู่ ิ ่ (เช่น “สัตวแพทย์ผรบผิดชอบ attending veterinarian”, การดูแลทางการสัตวแพทย์อย่างพอเพียงและผูบริหาร ู้ ั ้ สถาบัน) แม้วาคำ�ศัพท์เหล่านีไม่ตรงกันกับคำ�ศัพท์ทใช้โดยสถาบันอืนนอกสหรัฐฯ แต่รากฐานหลักเกณฑ์ตางๆ ่ ้ ี่ ่ ่ ยังคงสามารถใช้ได้ ในทุกกรณีที่คำ�แนะนำ�ต่างๆในข้อแนะนำ�มีข้อแตกต่างจากการบังคับตามกฎหมายหรือ นโยบายต่างๆ ควรยึดถือตามมาตรฐานที่สูงกว่า จรรยาบรรณและการใช้สัตว์ การตัดสินใจใช้สตว์ในการวิจยต้องมีความคิดเกียวกับการวิเคราะห์ การตัดสินใจและการวิพากย์การใช้ ั ั ่ สัตว์ในการวิจัยเป็นอภิสิทธิ์ที่ได้ยอมรับจากสังคมให้กับสังคมการวิจัย ร่วมกับการคาดหวังว่าการใช้ดังกล่าว จะให้องค์ความรู้ใหม่ที่มีนัยสำ�คัญหรือนำ�ไปสู่การเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของมนุษย์ และ/หรือ สัตว์ (McCarthy 1999; Perry 2007) เป็นความเชื่อมั่นที่บังคับให้ดูแลและใช้สัตว์เหล่านี้อย่างรับผิดชอบและอย่างมีมนุษยธรรม ข้อแนะนำ�รับรองความรับผิดชอบต่างๆของนักวิจัย ดังได้แถลงไว้ในหลักเกณฑ์ของรัฐบาลเกี่ยวกับการดูแล และใช้สัตว์มีกระดูกสันหลังในการทดสอบ วิจัยและการฝึกอบรม (IRAC 1985; ดูภาคผนวก ข.) หลักเกณฑ์ เหล่านีชน�ให้สงคมวิจยเพือยอมรับความรับผิดชอบต่อการดูแลและการใช้สตว์ตางๆตลอดทุกช่วงระยะความ ้ ี้ ำ ั ั ่ ั ่ อุ ต สาหะของการวิ จั ย หน่ ว ยงานของรั ฐ บาลและองค์ ก ารผู้ เ ชี่ ย วชาญอื่ น ๆได้ ตี พิ ม พ์ ห ลั ก เกณฑ์ เช่นเดียวกัน(NASA 2008; NCB 2005; NIH 2006 2007; สำ�หรับเอกสารอ้างอิงเพิ่มเติม ดูภาคผนวก ก) การพิจารณาต่างๆ ด้านจริยธรรมที่อภิปรายที่นี่และในส่วนอื่นๆของข้อแนะนำ�ควรใช้เป็นจุดเริ่มต้น ผู้อ่าน ทั้งหลายได้รับการกระตุ้นให้ทำ�ดีมากกว่าหลักการที่ได้ให้ไว้เหล่านี้ ภายใต้สถานการณ์หลายอย่างจะมี การพิจารณาพิเศษเสนอขึ้นระหว่างการทบทวนโปรโตคอลและการวางแผน สถานการณ์หลายอย่างของ สถานการณ์เหล่านี้จะมีการอภิปรายโดยละเอียดมากกว่าในบทที่ 2 หลักสามอาร์ หลักสามอาร์ (The Three Rs) แสดงวิธประยุกต์ส�หรับการนำ�ไปปฏิบตให้เป็นผลสำ�เร็จตามหลักเกณฑ์ ี ำ ั ิ ที่ได้กล่าวถึงข้างต้น ในปี ค.ศ. 1959 ดับเบิลยู. เอ็ม. รัสเซล และอาร์. เอล. เบิร์ชได้ตีพิมพ์หลักกลยุทธ์ การปฏิบตเพือการแทนที่ การลดจำ�นวนและการลดความเจ็บปวด – ทีอางถึงต่อมาว่า หลักสามอาร์ – สำ�หรับ ั ิ ่ ่ ้ นักวิจัยนำ�ไปปฏิบัติตามเมื่อพิจารณาการออกแบบงานวิจัยที่ใช้สัตว์ทดลอง (Russell and Burch 1959)

แนวความคิดหลัก 5 ตลอดเวลาหลายปี หลักสามอาร์ ได้กลายเป็นกลยุทธ์ทยอมรับโดยสากลโดยนักวิจยทังหลายนำ�ไปปฏิบตตาม ี่ ั ้ ั ิ เมื่อมีการตัดสินใจใช้สัตว์ในงานวิจัยและการออกแบบการศึกษาต่างๆในสัตว์อย่างมีมนุษยธรรม การแทนที่ กล่าวถึงวิธีต่างๆเพื่อหลีกเลี่ยงการใช้สัตว์ คำ�ศัพท์นี้รวมทั้งการทดแทนโดยสมบูรณ์ (ได้แก่ การทดแทนการใช้สัตว์ต่างๆด้วยระบบสิ่งไม่มีชีวิต เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์) ตลอดจนการทดแทนอื่นๆ ที่มีความสัมพันธ์กัน (เช่น การแทนที่สัตว์มีกระดูกสันหลังด้วยสัตว์ที่จัดอยู่ในลำ�ดับชั้นทางวิวัฒนาการของ สิ่งมีชีวิตที่ต่ำ�กว่า) การลดความเจ็บปวด กล่าวถึงการปรับเปลี่ยนวิธีดำ�เนินการทางสัตวบาลหรือการทดลองเพื่อส่งเสริม ความเป็นอยูทดของสัตว์ หรือลดความเจ็บปวดและการทุกข์ทรมาน ขณะทีสถาบันและนักวิจยควรนำ�วิธทงหมด ่ ี่ ี ่ ั ี ั้ ทีมเหตุผลสมควรเพือลดความเจ็บปวดและการทุกข์ทรมานด้วยความประณีต IACUCs ควรเข้าใจว่าการศึกษา ่ ี ่ บางประเภทอาจมีผลลัพท์ของการทดลองที่อาจมองไม่เห็นหรือคาดไม่ถึงซึ่งทำ�ให้เกิดความเจ็บปวด ผลลัพท์ เหล่านี้อาจ หรือไม่อาจถูกกำ�จัดได้ตามรากฐานของเป้าหมายการศึกษา การลดจำ�นวน เกี่ยวข้องกับกลยุทธ์ต่างๆเพื่อไปถึงระดับต่างๆที่เปรียบเทียบกันได้ของข้อมูลที่ได้ จากการใช้สัตว์จำ�นวนน้อยกว่า หรือเพื่อทำ�ให้ข้อมูลมีคุณค่าสูงสุดจากการใช้สัตว์จำ�นวนหนึ่งที่ให้มา (โดย ปราศจากการเพิ่มความเจ็บปวดและการทุกข์ทรมาน) ดังนั้นในระยะเวลายาวนานจำ�เป็นต้องใช้สัตว์จำ�นวน น้อยลงเพือให้ได้ขอมูลทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกัน วิธการแบบนีพงพาการวิเคราะห์การออกแบบการทดลอง ่ ้ ี ้ ึ่ การปฏิบัติด้วยวิธีทางเทคโนโลยีที่ใหม่กว่า การใช้วิธีทางสถิติอย่างเหมาะสม และการควบคุมการผันแปร ที่เกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมในการให้สัตว์อยู่อาศัยและพื้นที่ท�การศึกษา (ดู ภาคผนวก ก.) ำ การลดความเจ็บปวดและการลดจำ�นวนควรมีความสมดุลย์บนพื้นฐานของแต่ละกรณี นักวิจัยหลักได้ รับการคัดค้านอย่างแข็งกร้าวไม่ให้สนับสนุนการใช้สตว์ซ�อีกเพือกลยุทธ์การลดจำ�นวนสัตว์ และการลดจำ�นวน ั ้ำ ่ ไม่ควรเป็นเหตุผลข้ออ้างเพื่อการใช้สัตว์หนึ่งตัวหรือหลายตัวที่ได้เคยผ่านวิธีการทดลองมาก่อน โดยเฉพาะ อย่างยิ่งเมื่อการเป็นอยู่ที่ดีของสัตว์อาจถูกคุกคาม การศึกษาต่างๆที่อาจมีผลต่อความเจ็บปวดอย่างรุนแรง หรือเรือรัง หรือเกิดการเปลียนแปลงอย่างมีนยสำ�คัญต่อความสามารถของสัตว์ในการดำ�รงสรีรภาพตามปกติ ้ ่ ั หรือตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่างๆอย่างเพียงพอ ควรมีการอธิบายเรื่องจุดสิ้นสุดเพื่อมนุษยธรรมอย่างเหมาะสม หรือให้เหตุผลสมควรบนพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์เพื่อการไม่ใช้จุดสิ้นสุดเพื่อมนุษยธรรมที่เป็นที่ยอมรับ โดยทั่วไป ต้องมีการปรึกษาสัตวแพทย์เมื่อความเจ็บปวดหรือการทุกข์ทรมานเกินกว่าระดับที่รายละเอียด ในโปรโตคอลคาดการณ์ไว้ หรือเมื่อทำ�การแทรกแทรงควบคุมไม่ได้ คำ�ศัพท์สำ�คัญที่มีใช้ในข้อแนะนำ� คณะกรรมการเพื่อการปรับปรุงข้อแนะนำ�เชื่อว่าคำ�ศัพท์ต่างๆที่ตราขึ้นมาข้างล่างนี้เป็นสิ่งสำ�คัญเพื่อ ความเข้าใจข้อแนะนำ�อย่างสมบูรณ์ เพื่อให้สอดคล้องเราได้ให้คำ�นิยามคำ�ศัพท์เหล่านี้และข้อคิดเห็นต่างๆ เพื่อให้ความช่วยเหลือเพิ่มเติมแก่ผู้ใช้ข้อแนะนำ�ในการนำ�ไปใช้ประโยชน์ตามภาระหน้าที่ต่างๆ

6 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง การดูแลสัตว์อย่างมีมนุษยธรรม การดูแลอย่างมีมนุษยธรรม หมายถึงการกระทำ�ต่างๆเพือให้มนใจว่าสัตว์ทดลองได้รบการปฏิบตอย่าง ่ ั่ ั ั ิ สอดคล้องกับมาตรฐานทางจริยธรรมและทางวิทยาศาสตร์อย่างสูงการทำ�โปรแกรมการดูแลอย่างมีมนุษยธรรม ให้สำ�เร็จและการสร้างสภาพแวดล้อมห้องปฎิบัติการที่ให้การดูแลอย่างมีมนุษยธรรม และมีความใส่ใจสัตว์ เป็นคุณประโยชน์และได้รับการสนับสนุน เน้นความสำ�คัญเรื่องความต้องการของข้อแนะนำ�และระบบการ ปกครองตนเองที่ข้อแนะนำ�สนับสนุน โปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ โปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ (โปรแกรม) หมายถึงนโยบาย วิธีดำ�เนินการ มาตรฐาน โครงสร้าง ของสถาบัน การมีบุคลากร สถานที่และวิธีปฏิบัติต่างๆที่จัดลงตัว ณ ตำ�แหน่งที่ตั้งเพื่อบรรลุผลสำ�เร็จในการ ดูแลและใช้สัตว์อย่างมีมนุษยธรรมในห้องปฎิบัติการและตลอดทั่วทั้งสถาบัน โปรแกรมประกอบด้วยการ ก่ อ ตั้ ง และการสนับสนุน IACUC หรือ คณะกรรมการกำ� กับ ดูแ ลจริยธรรมที่เทียบเท่ากันและการดำ �รง สภาพแวดล้อมหนึ่ง ซึ่ง IACUC สามารถทำ�หน้าที่ได้สำ�เร็จ เพื่อดำ�เนินการตามภาระหน้าที่ภายใต้ข้อแนะนำ� และการประยุกต์ปฏิบัติส�หรับโปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ต่างๆ ำ มาตรฐานทางวิศวกรรม สมรรถภาพและวิธีปฏิบัติ มาตรฐานทางวิศวกรรม หมายถึง มาตรฐานหรือบรรทัดฐานทีเจาะจงในรายละเอียด วิธท� เทคโนโลยี ่ ี ำ หรือเทคนิคหนึ่งเพื่อการทำ�ให้บรรลุผลสำ�เร็จตามที่ปรารถนา ไม่ยอมให้มีการดัดแปลงในสถานะการที่มีวิธี ทดแทนอย่างยอมรับได้หรือเมือมีเหตุการณ์อนไม่คาดคิดเกิดขึน มาตรฐานทางวิศวกรรมเป็นการกำ�หนดและ ่ ั ้ ให้ความยืดหยุ่นอย่างจำ�กัดในการปฏิบัติ อย่างไรก็ดีมาตรฐานทางวิศวกรรมสามารถมีประโยชน์เพื่อกำ�หนด บรรทัดฐานและถือว่านำ�ไปใช้ได้ง่ายในการประเมินการปฏิบัติตามหรือไม่ มาตรฐานสมรรถภาพ หมายถึง มาตรฐานหรือบรรทัดฐานที่แม้ว่ามีการอธิบายรายละเอียดเป้าหมาย มีการให้ความยืดหยุ่นในการบรรลุเป้าหมายนี้ โดยยอมรับการไตร่ตรองอย่างรอบคอบจากท่านทั้งหลาย ผู้มีความรับผิดชอบต่อการจัดการโปรแกรมการดูแลและใช้สัตว์ นักวิจัยและ IACUC วิถีทางตามมาตรฐาน สมรรถภาพต้องการความคิดเห็นของผูเชียวชาญ การตัดสินใจอย่างดีและการมีสวนร่วมทังทีมเพือบรรลุความ ้ ่ ่ ้ ่ สำ�เร็จตามเป้าหมายต่างๆ โดยเฉพาะ เป็นความจำ�เป็นที่จุดมุ่งหมายและ/หรือเป้าหมายตามความประสงค์ ถูกระบุอย่างชัดเจนและมีการตรวจสอบด้วยวิธวดสมรรถภาพต่างๆตามปกติอย่างเหมาะสมเพือสามารถพิสจน์ ีั ่ ู ว่าได้บรรลุความสำ�เร็จตามกระบวนการจริง มาตรฐานสมรรถภาพสามารถมีข้อได้เปรียบเพราะมาตรฐาน เหล่านีให้ความสะดวกการพิจารณาปัจจัยการผันแปรต่างๆอย่างมากมาย (ดังเช่น ชนิดสัตว์และประวัตในอดีต ้ ิ สถานที่ ความเชี่ยวชาญของบุคลากรและเป้าหมายของการวิจัย) ดังนั้นการทำ�ให้บรรลุผลสำ�เร็จสามารถ ดัดแปลงอย่างดีที่สุดให้ได้ตามคำ�แนะนำ�ต่างๆในข้อแนะนำ�

แนวความคิดหลัก 7 ตามหลกการแลว มาตรฐานทางวศวกรรมและมาตรฐานสมรรถภาพจะมสมดลย์ มการก�หนดเปาหมาย ั ้ ิ ี ุ ี ำ ้ เพื่อการปฏิบัติ การจัดการและการทำ�งานให้เป็นที่น่าพอใจที่สุด ขณะที่มีการสนับสนุนให้มีความยืดหยุ่นและ การตัดสินใจ ถ้ามีความเหมาะสมตามพื้นฐานของแต่ละสถานการณ์ต่างๆ (Gonder et al. 2001) นักวิจย สัตวแพทย์ นักเทคนิคและท่านอืนๆมีประสบการณ์และข้อมูลอย่างมากมายทีครอบคลุมเนือหา ั ่ ่ ้ ในหลายหัวข้อที่อภิปรายในข้อแนะนำ� สำ�หรับหัวข้อที่มีข้อมูลไม่พอเพียงหรือไม่สมบูรณ์ จำ�เป็นต้องมีการ ทำ�วิจัยอย่างต่อเนื่องเพื่อปรับปรุงวิธีการการจัดการ การดูแลและการใช้สัตว์ทดลองต่างๆ เพื่อการประเมิน และการปรับปรุงมาตรฐานทางวิศวกรรมและมาตรฐานสมรรถภาพต่างๆให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง มาตรฐานวิธีปฏิบัติ หมายถึง การประยุกต์ใช้การตัดสินใจของผู้เชี่ยวชาญ โดยท่านผู้ทรงคุณวุฒิและ มีประสบการณ์ต่างๆ ในชิ้นงานหรือกระบวนการหนึ่งตลอดระยะเวลา วิธีการนี้ได้สาธิตให้เห็นว่ามีประโยชน์ และส่งเสริมการดูแลและการใช้สัตว์ การตัดสินใจของผู้เชี่ยวชาญได้มาจากข้อมูลในวารสารทางวิทยาศาสตร์ ทีได้รบการทบทวนแบบเพือนและจากสาขาวิชาอืนๆอีกมาก จากเวลาการทำ�งานทีพสจน์ได้วามีประสบการณ์ ่ ั ่ ่ ่ ิ ู ่ ในสาขาวิชาที่ถนัด (สำ�หรับข้อมูลเพิ่มเติม ดูบทที่ 2) ถ้าปราศจากข้อมูลที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิทยาศาสตร์ หรือแหล่งอื่นๆที่น่าเชื่อถือได้ ซึ่งประสบการณ์ได้แสดงว่าวิธีปฏิบัติเฉพาะอย่างหนึ่งได้ปรับปรุงการดูแลและ การใช้สตว์ให้ดขน มาตรฐานวิธปฏิบตได้ถกใช้ในการพิจารณาข้อแนะนำ�ต่างๆอย่างเหมาะสมทีมในข้อแนะนำ� ั ี ึ้ ี ั ิ ู ่ ี ในสถานการณสวนใหญ่ ขอแนะน�ตงใจใหความยดหยน ดงนนสถาบนสามารถดดแปลงวธปฏบตและวธด�เนนการ ์่ ้ ำ ั้ ้ ื ุ่ ั ั้ ั ั ิี ิ ัิ ิีำ ิ ต่างๆ ในสภาวะที่มีความเปลี่ยนแปลงและมีข้อมูลใหม่ๆ นโยบาย หลักเกณฑ์ และ วิธีดำ�เนินการต่างๆ นโยบาย โดยทั่วๆไปได้มาจากหน่วยงานสาธารณะหรือคณะบุคคลเอกชนแห่งหนึ่ง นโยบายเหล่านี้ มักเป็นแถลงการณ์ทางการปฏิบัติซึ่งรวบรวมองค์ความรู้ ผลสรุปจากการประชุมหรือแนวทางการจัดการที่มี ภายในสู่การเป็นเอกภาพ อย่างไรก็ดีนโยบายอาจหมายรวมการบังคับอย่างกว้างขวางเมื่อนโยบายเหล่านี้ กลายเป็นวิถีทางต่างๆตามที่หน่วยงานที่น�ไปใช้แปลความหมายตามระเบียบข้อบังคับที่มีอยู่ (เช่น นโยบาย ำ ของ PHS) หลักเกณฑ์ มีขอบเขตและการใช้งานตามที่ตั้งใจกว้างขวางกว่า และ เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป ในหัวข้อทีมกเป็นทีรบรองโดยองค์การมากมายและทีมความแตกต่างกันอย่างมาก (เช่น หลักเกณฑ์ของรัฐบาล ่ ั ่ั ่ ี สหรัฐฯ) วิธีดำ�เนินการ (มักถูกเรียกว่า “วิธีทำ�งาน” หรือ “วิธีปฏิบัติมาตรฐาน”) มักเป็นกระบวนการต่างๆ อย่างละเอียดตามลำ�ดับขั้นตอน มีความหมายเพื่อให้มั่นใจว่าการนำ�ไปปฏิบัติของสถาบันมีความสม่ำ�เสมอ การกำ�หนดวิธีปฏิบัติมาตรฐานสามารถช่วยสถาบันในการปฏิบัติสอดคล้องกับกฎข้อบังคับ นโยบายและ หลักเกณฑ์ต่างๆ ตลอดจนการสอดคล้องกับการทำ�งานและการจัดการในแต่ละวัน

8 ข้อแนะน�ำส�ำหรับการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง ต้อง ควร และ อาจ ต้อง หมายถึง การแสดงต่างๆที่คณะกรรมการปรับปรุงข้อแนะนำ�พิจารณาว่าเป็นหน้าที่ หรือ ความ ต้องการตามระเบียบซึ่งหลีกเลี่ยงไม่ได้และทำ�ตามคำ�สั่ง เพื่อให้การดูแลและการใช้สัตว์อย่างมีมนุษยธรรม ควร บ่งชี้ถึงข้อแนะนำ�อย่างแข็งขันเพื่อการบรรลุเป้าหมายหนึ่ง อย่างไรก็ดีคณะกรรมการฯรับรู้ว่าในแต่ละ สถานการณ์ต่างๆ อาจมีการให้เหตุผลสมควรให้ใช้วิธีการทดแทน อาจ บ่งชี้คำ�แนะนำ�ให้พิจารณา ข้อแนะนำ�ถูกเขียนเป็นศัพท์ให้ใช้ทั่วๆ ไป เพื่อคำ�แนะนำ�ต่างๆสามารถนำ�ไปใช้ในสถาบันและ สภาพการณ์ที่แตกต่างกันซึ่งผลิตหรือใช้สัตว์ส�หรับการวิจัย การสอนและการทดสอบ กลวิธีนี้ต้องการให้ผู้ใช้ ำ IACUCs สัตวแพทย์และผู้ผลิตสัตว์ประยุกต์ใช้การพิจารณาโดยผู้เชี่ยวชาญในการตัดสินใจที่เกี่ยวกับการดูแล และการใช้สัตว์ เพราะว่าข้อแนะนำ�ถูกเขียนเป็นศัพท์ให้ใช้ทั่วๆไป IACUCs จึงมีบทบาทหลักในการตีความ การนำ�ไปทำ�ให้สำ�เร็จ การควบคุมดูแลและการประเมินโปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ของสถาบัน เอกสารอ้างอิง AWA [Animal Welfare Act]. 1990. Animal Welfare Act. PL (Public Law) 89-544. Available at www.nal.usda.gov/awic/legislat/awa.htm; accessed January 14, 2010. Gonder JC, Smeby RR, Wolfle TL. 2001. Performance Standards and Animal Welfare: Definition, Application and Assessment, Parts I and II. Greenbelt MD: Scientists Center for Animal Welfare. IRAC [Interagency Research Animal Committee]. 1985. U.S. Government Principles for Utilization and Care of Vertebrate Animals Used in Testing, Research, and Training. Federal Register, May 20, 1985. Washington: Office of Science and Technology Policy. Available at http://oacu.od.nih.gov/regs/USGovtPrncpl.htm; accessed May 10, 2010. Klein HJ, Bayne KA. 2007. Establishing a culture of care, conscience, and responsibility: Addressing the improvement of scientific discovery and animal welfare through science based performance standards. ILAR J 48:3-11. McCarthy CR. 1999. Bioethics of laboratory animal research. ILAR J 40:1-37. NASA [National Aeronautics and Space Administration]. 2008. NASA Principles for the Ethical Care and Use of Animals. NPR 8910.1B-Appendix A. May 28. Available at http://nodis3. gsfc.nasa.gov/displayDir.cfm?t=NPDandc=8910ands=1B; accessed May 10, 2010. NCB [Nuffield Council on Bioethics]. 2005. The Ethics of Research Using Animals. London: NCB. NIH [National Institutes of Health]. 2007. Memorandum of Understanding Between the Office of Laboratory Animal Welfare, National Institutes of Health, US Department of Health and Human Services and the Office of Research Oversight and the Office of Research and Development,Veterans Health Administration, US Department of Veterans Affairs Concerning

แนวความคิดหลัก 9 Laboratory Animal Welfare. November 2007. Bethesda: Office of Extramural Research, NIH. Available at http://grants.nih.gov/grants/olaw/references/mou_olaw_va_2007_11.htm. NIH. 2006. Memorandum of Understanding Among the Animal and Plant Health Inspection Service USDA and the Food and Drug Administration, US Department of Health and Human Services, and the National Institutes of Health Concerning Laboratory Animal Welfare. March 1, 2006. Bethesda: Office of Extramural Research, NIH. Available at http://grants.nih.gov/grants/olaw/references/finalmou.htm. NRC [National Research Council]. 1992. Report on Responsible Science. Washington: National Academy Press. Perry P. 2007. The ethics of animal research: A UK perspective. ILAR J 48:42-46. PHS [Public Health Service]. 2002. Public Health Service Policy on Humane Care and Use of Laboratory Animals. Publication of the Department of Health and Human Services, National Institutes of Health, Office of Laboratory Animal Welfare. Available at http://grants. nih.gov/grants/olaw/references/phspol.htm; accessed June 9, 2010. Russell WMS, Burch RL. 1959. The Principles of Humane Experimental Technique. London: Methuen and Co. [Reissued: 1992, Universities Federation for Animal Welfare, Herts, UK]. USDA [US Department of Agriculture]. 1985. 9 CFR 1A. (Title 9, Chapter 1, Subchapter A): Animal Welfare. Available at http://ecfr.gpoaccess.gov/cgi/t/text/text-idx?sid=8314313bd 7adf2c9f1964e2d82a88d92andc=ecfrandtpl=/ecfrbrowse /Title09/9cfrv1_02.tpl; accessed January 14, 2010.

Next: 2 Animal Care and Use Program »
Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version Get This Book
×
 Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition -- Thai Version
MyNAP members save 10% online.
Login or Register to save!
Download Free PDF

This report is the Thai translation of Guide for the Care and Use of Laboratory Animals: Eighth Edition.

A respected resource for decades, the Guide for the Care and Use of Laboratory Animals has been updated by a committee of experts, taking into consideration input from the scientific and laboratory animal communities and the public at large. The Guide incorporates new scientific information on common laboratory animals, including aquatic species, and includes extensive references. It is organized around major components of animal use:

  • Key concepts of animal care and use. The Guide sets the framework for the humane care and use of laboratory animals.
  • Animal care and use program. The Guide discusses the concept of a broad Program of Animal Care and Use, including roles and responsibilities of the Institutional Official, Attending Veterinarian and the Institutional Animal Care and Use Committee.
  • Animal environment, husbandry, and management. A chapter on this topic is now divided into sections on terrestrial and aquatic animals and provides recommendations for housing and environment, husbandry, behavioral and population management, and more.
  • Veterinary care. The Guide discusses veterinary care and the responsibilities of the Attending Veterinarian. It includes recommendations on animal procurement and transportation, preventive medicine (including animal biosecurity), and clinical care and management. The Guide addresses distress and pain recognition and relief, and issues surrounding euthanasia.
  • Physical plant. The Guide identifies design issues, providing construction guidelines for functional areas; considerations such as drainage, vibration and noise control, and environmental monitoring; and specialized facilities for animal housing and research needs.

The Guide for the Care and Use of Laboratory Animals provides a framework for the judgments required in the management of animal facilities. This updated and expanded resource of proven value will be important to scientists and researchers, veterinarians, animal care personnel, facilities managers, institutional administrators, policy makers involved in research issues, and animal welfare advocates.

READ FREE ONLINE

  1. ×

    Welcome to OpenBook!

    You're looking at OpenBook, NAP.edu's online reading room since 1999. Based on feedback from you, our users, we've made some improvements that make it easier than ever to read thousands of publications on our website.

    Do you want to take a quick tour of the OpenBook's features?

    No Thanks Take a Tour »
  2. ×

    Show this book's table of contents, where you can jump to any chapter by name.

    « Back Next »
  3. ×

    ...or use these buttons to go back to the previous chapter or skip to the next one.

    « Back Next »
  4. ×

    Jump up to the previous page or down to the next one. Also, you can type in a page number and press Enter to go directly to that page in the book.

    « Back Next »
  5. ×

    To search the entire text of this book, type in your search term here and press Enter.

    « Back Next »
  6. ×

    Share a link to this book page on your preferred social network or via email.

    « Back Next »
  7. ×

    View our suggested citation for this chapter.

    « Back Next »
  8. ×

    Ready to take your reading offline? Click here to buy this book in print or download it as a free PDF, if available.

    « Back Next »
Stay Connected!